หลักการและเหตุผล
การเรียนรู้โดยใช้สถานการณ์เสมือนจริง (Simulation Based Learning) เป็นวิธีการเรียนการสอนทางการพยาบาลอย่าง หนึ่งที่ต้องการให้ผู้เรียนได้รับประสบการณ์การดูแลผู้ป่วยอย่างเป็นองค์รวม ผู้เรียนสามารถปฏิบัติการพยาบาลในสถานการณ์เสมือนจริงซ้้าได้หลายครั้ง จนเกิดความมั่นใจก่อนให้การพยาบาลผู้ป่วยจริง ช่วยให้ผู้เรียนรู้สึกเหมือนอยู่ในเหตุการณ์การดูแลผู้ป่วยจริงมากที่สุด และลดความเสี่ยงที่จะเกิดอันตรายต่อผู้ป่วยเมื่อต้องไปให้การพยาบาลผู้ป่วยในสถานการณ์จริง ซึ่งปัจจุบันเป็นที่ยอมรับกันอย่างแพร่หลายแล้วว่าการเรียนรู้วิธีนี้ช่วยให้ผู้เรียนได้พัฒนาทักษะปฏิบัติการพยาบาล การทำงานเป็นทีม ทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ และการตัดสินใจ การสร้างเจตคติที่ดีต่อการดูแลผู้ป่วย และช่วยให้ผู้เรียนสามารถจดจำสิ่งที่ได้เรียนรู้ยาวนานกว่า วิธีการสอนชนิดอื่น ทั้งนี้เพราะผู้เรียนได้เรียนรู้ไปพร้อมกับการลงมือปฏิบัติจริงในสภาพแวดล้อมที่ปลอดภัยและส่งเสริมการเรียนรู้และจากสถานการณ์การระบาดของโควิด-19 ทำให้มีผลกระทบต่อการจัดการเรียนในภาคปฏิบัติเนื่องจากนักศึกษาไม่สามารถไปฝึกปฏิบัติในโรงพยาบาลได้ จึงจ้าเป็นที่ต้องมีการจัดการเรียนในห้องปฏิบัติการพยาบาลเพื่อให้นักศึกษาเกิดการเรียนรู้และพัฒนาทักษะการปฏิบัติการพยาบาล สถาบันการศึกษาสาขาพยาบาลศาสตร์ในประเทศไทยทั้งภาครัฐบาลและเอกชนมากกว่าร้อยละ 90 มีการใช้หุ่นจำลองทางการแพทย์มาใช้ในการส่งเสริมการเรียนรู้โดยใช้สถานการณ์เสมือนจริงท้าให้ผลลัพธ์การเรียนรู้ของนักศึกษามีประสิทธิภาพและมีประสิทธิผลมากยิ่งขึ้น จากสถานการณ์ดังกล่าวในปีการศึกษา 2565 คณะพยาบาลศาสตร์จึงเห็นความสำคัญในการระดมทุนเพื่อจัดซื้อหุ่นจำลองทางการแพทย์และพัฒนาห้องปฏิบัติการ Simulation เพื่อใช้พัฒนาการเรียนรู้ของนักศึกษาพยาบาลใน รายวิชาต่างๆ เช่น การพยาบาลผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ การพยาบาลผู้ป่วยในภาวะวิกฤติ การพยาบาลมารดา ทารก และผดุงครรภ์ การพยาบาลชุมชนให้สามารถฝึกปฏิบัติการพยาบาลได้เสมือนจริง มีทักษะในการปฏิบัติการพยาบาลได้อย่างมั่นใจก่อนที่จะฝึกปฏิบัติการดูแลผู้ป่วยในโรงพยาบาล จะช่วยให้นักศึกษาพยาบาลดูแลผู้ป่วยได้อย่างปลอดภัย การพัฒนาครั้งนี้เป็นการยกระดับคุณภาพการเรียนการสอน ซึ่งจะเป็นการสร้างมาตรฐานในการผลิตพยาบาลวิชาชีพที่มีคุณภาพในการรับใช้สังคมต่อไป
งบประมาณในการจัดซื้อหุ่น
รายละเอียด
1. หุ่นจำลองฝึกทักษะด้านการวินิจฉัยโรคและช่วยฟื้นคืนชีพขั้นสูงพร้อมระบบกล้อง สี่ทิศทาง จำนวน 1 ชุด และ หุ่นฝึกทำคลอดและช่วยชีวิตขั้นสูงเสมือนจริงครบวงจรพร้อมจอภาพแสดงสัญญาณชีพ จำนวน 1 ชุด รวม 7,880,000 บาท
2. การปรับปรุงและจัดทำห้อง Simulation room จำนวน 6 ห้อง รวม 600,000 บาท
หุ่นจำลองผู้ใหญ่ SimMan ใช้สำหรับการฝึกช่วยชีวิตขั้นสูง มีระบบทางเดินหายใจเสมือนจริงและสามารถแสดงอาการผิดปกติการหายใจ อาการเหนื่อย อาการเขียว ความผิดปกติของการขยายรูม่านตา เสียงหัวใจที่ผิดปกติ คลำชีพจรในส่วนต่างๆของร่างกายสามารถวัดความดันโลหิตได้ กรณีที่มีภาวะวิกฤตสามารถใส่ท่อช่วยหายใจ การทำ CPR และสามารถใช้เครื่องกระตุ้นหัวใจด้วยไฟฟ้าได้การให้สารน้ำที่แขนทั้งสองข้าง การสวนปัสสาวะ นอกจากนี้ยังสามารถตั้งค่าความผิดปกติของระบบทางเดินหายใจและใช้เครื่องช่วยหายใจในการช่วยเหลือได้จริงสามารถแสดงการตรวจคลื่นหัวใจ (EKG 12 Leads) แบบ Real time พร้อมเลือกประเภทของ EKG ซึ่งจะมีความสัมพันธ์กับเสียงหัวใจและอัตราการเต้นของหัวใจในแต่ละสถานการณ์ ทำให้ผู้เรียนสามารถให้การช่วยเหลือได้ถูกต้องและเกิดความปลอดภัยกับผู้ป่วย
หุ่นจำลองหญิงตั้งครรภ์ SimMom ใช้ในการฝึกการดูแลทางสูติศาสตร์ทั้งในช่วงก่อนคลอด ระหว่างคลอด และหลังคลอด โดยสามารถแสดงอาการผิดปกติของมารดา ได้แก่ การเคลื่อนไหวของดวงตา การขยายของรูม่านตา สามารถใช้ฝึกการตรวจครรภ์โดยสามารถจัดท่าของทารกเป็นท่าหัว ท่าก้น และท่าขวาง สามารถทำคลอดทารกแบบปกติและผิดปกติ เช่น การคลอดติดไหล่ คลอดท่าก้นการใช้คีม การใช้เครื่อง
สูญญากาศ การทำคลอดรก การคลำขนาดของมดลูก การแสดงภาวะตกเลือดในระหว่างการคลอดและหลังคลอด
หุ่นจำลองเด็กทารกสำหรับการคลอดมีขนาดและน้ำหนักเสมือนจริง โดยสามารถส่งเสียงร้อง แสดงการหายใจ อาการเขียว ทำให้ผู้เรียนสามารถประเมินเพื่อวินิจฉัยความผิดปกติทั้งของมารดา ทารกในครรภ์และทารกแรกคลอดเพื่อให้การช่วยเหลือได้อย่างมีประสิทธิภาพ
“มหาวิทยาลัยคริสเตียนมุ่งผลิตบัณฑิตที่มีคุณภาพ มีจริยธรรมและคุณธรรม ในการเสริมสร้างคุณค่าให้กับองค์กร ชุมชน และสังคม ด้วยนวัตกรรมและระบบนิเวศ เพื่อสร้างความได้เปรียบเชิงการแข่งขันให้กับองค์กร และประเทศ”
วท.บ. (ฟิสิกส์) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
วศ.ม. (วิศวกรรมไฟฟ้าและสารสนเทศ) (หลักสูตรนานาชาติ) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
ปร.ด. (วิศวกรรม ไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์) (หลักสูตรนานาชาติ) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
ชื่อ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ศศิธร รุจนเวช
วุฒิการศึกษา
ความเชี่ยวชาญ
ผลงานวิชาการที่เผยแพร่
รางวัลที่ได้รับ
ชื่อ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ทิพา ต่อสกุลแก้ว
วุฒิการศึกษา
ความเชี่ยวชาญ
ผลงานวิชาการที่เผยแพร่
ชื่อ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ศากุล ช่างไม้
วุฒิการศึกษา
ผลงานวิชาการที่เผยแพร่
ชื่อ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ พันเอกหญิง ดร.นงพิมล นิมิตรอานันท์
วุฒิการศึกษา
ความเชี่ยวชาญ
ผลงานวิชาการที่เผยแพร่
ปีการศึกษา 2561
1) นงพิมล นิมิตรอานันท์ ศศิธร รุจนเวช และ จุฑารัตน์ ผู้พิทักษ์กุล. (2562). รูปแบบการสื่อสารความเสี่ยงทางสุขภาพโรคหลอดเลือดสมองตามมิติวัฒนธรรมของกลุ่มชาติพันธุ์ไทยทรงดำ: กรณีศึกษาชุมชนสะแกราย จังหวัดนครปฐม. วารสารคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา, 27(2) (เมษายน–มิถุนายน),80-92.
2) อุษา ตันทพงษ์ นงพิมล นิมิตรอานันท์ และ ศศิธร รุจนเวช. (2562). ปัจจัยคัดสรรที่มีผลต่อพฤติกรรมการป้องกันโรคข้อเข่าเสื่อมชนิดปฐมภูมิของครูในจังหวัดนครปฐม. วารสารพยาบาลทหารบก, 20(2) (พฤษภาคม-สิงหาคม),316-326.
วิทยานิพนธ์
3) ภาวินี กุลษรเวทย์ สุธีรา ฮุ่นตระกูล และ นงพิมล นิมิตรอานันท์. (2561). ผลของโปรแกรมการเสริมพลังในการป้องกันโรคข้อเข่าเสื่อมชนิดปฐมภูมิในอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านที่มีภาวะเสี่ยงโรคข้อเข่าเสื่อมที่ชุมชนแห่งหนึ่งในจังหวัดเพชรบุรี. วารสารแพทย์นาวี,45(3),578-598.[TCIกลุ่ม 1]
4) ดุจนฤภา ภาคปิยวัชร์ สุธีรา ฮุ่นตระกูล และ นงพิมล นิมิตรอานันท์. (2561). ผลของโปรแกรมการจัดการตนเองด้านการใช้ยาอย่างเคร่งครัดในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมไม่ได้ที่คลินิกเอกชนแห่งหนึ่งในจังหวัดปทุมธานี. วารสารแพทย์นาวี, 45(2), 377-398. [TCI กลุ่ม 1]
5) สุพัตรา เชาว์ไวย นงพิมล นิมิตรอานันท์ และ ศศิธร รุจนเวช. (2562). ผลของโปรแกรมการสร้างเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพในผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 รายใหม่ในชุมชน. วารสารโรงพยาบาลชลบุรี, 44(1), 25-34. [TCI กลุ่ม 1]
6) วิราพร สืบสุนทร นงพิมล นิมิตรอานันท์ และ ศศิธร รุจนเวช. (2562). ผลของโปรแกรมการส่งเสริมสมรรถนะของตนต่อพฤติกรรมการป้องกันการหกล้ม และสมรรถนะทางกายของผู้สูงอายุในชุมชน. วารสารโรงพยาบาลชลบุรี, 44(2), 119-129. [TCI กลุ่ม 1]
ปีการศึกษา 2562
7) นงพิมล นิมิตรอานันท์ วิชุดา กลิ่นหอม และ ฐิติมา หมอทรัพย์. (2563). การเสริมพลังชุมชน: มโนทัศน์และการประยุกต์ในการปฏิบัติการพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชน. วารสารการพยาบาลและสุขภาพ,14(1), (มกราคม-เมษายน) 13–23.
8)นงพิมล นิมิตรอานันท์ วิชุดา กลิ่นหอม เจือจันทร์ วัฒกีเจริญ และ ชลทิพย์ ทิพย์แก้ว. (2563). การพัฒนารูปแบบการป้องกันการหกล้มของผู้สูงอายุแบบมีส่วนร่วมของชุมชน. วารสารพยาบาลทหารบก, 21(2) พฤษภาคม-สิงหาคม,389-399.
วิทยานิพนธ์
9) กัญญาภัทธ ปราบริปู, ศศิธร รุจนเวช และ นงพิมล นิมิตรอานันท์. (2563). ผลของโปรแกรมการจัดการอาการต่อความรุนแรงของโรคและพฤติกรรมการดูแลตนเองของผู้สูงอายุกลุ่มเสี่ยงโรคข้อเข้าเสื่อมชนิดปฐมภูมิ. วารสารการพยาบาลและสุขภาพ. 14(1), 1-13, (มกราคม–เมษายน 2563). (TCI 2)
ปีการศึกษา 2563
10) นงพิมล นิมิตรอานันท์ สุพัตรา เชาว์ไวย และ วิราพร สืบสุนทร. (2563). การออกกำลังกายแบบก้าวตามตารางเพื่อป้องกันการหกล้มของผู้สูงอายุในชุมชน: การวิเคราะห์วรรณกรรม. วารสารแพทย์นาวี, 48(1),23-36. มกราคม-เมษายน. [TCI กลุ่ม 1]
รางวัลที่ได้รับ
อาจารย์ รุ่งแก้ว พุ่มโพธิ์
วุฒิการศึกษา
1. M.B.A. (Doubled Majors in International Business and Operations and Supply Chain Management), University of Wisconsin – Whitewater, USA
2. ศศ.บ. (ภาษาและวัฒนธรรมเพื่อการสื่อสารและการพัฒนา) สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย มหาวิทยาลัยมหิดล
3. บธ.บ. (การจัดการธุรกิจระหว่างประเทศ) มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ
อาจารย์ พันตำรวจเอกหญิง ดร.กิตติยา ชัชวาลชาญชนกิจ
วุฒิการศึกษา
1. ปร.ด.(การจัดการ) มหาวิทยาลัยสยาม
2. บธ.ม.(การจัดการ) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
3. พย.บ. วิทยาลัยพยาบาลตำรวจ
อาจารย์ สุพาพร ศิริผึ้ง
วุฒิการศึกษา
1. บธ.ม. (การจัดการทั่วไป) มหาวิทยาลัยรามคำแหง
2. บริหารธุรกิจบัณฑิต (อุตสาหกรรมการบริการ)มหาวิทยาลัยรามคำแหง
อาจารย์ เสาวลักษณ์ นัทธีศรี
วุฒิการศึกษา
1. กจ.ม. (การบริหารรัฐกิจ) มหาวิทยาลัยคริสเตียน
2. ศศ.บ. (การพัฒนาชุมชน) มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
อาจารย์ ดร.ธฤษณุวัชร ไชยโคตร
วท.บ.(กายภาพบำบัด) มหาวิทยาลัยมหิดล
วท.ม.(เวชศาสตร์การกีฬา) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Ph.D(Sport and Exercise Medicine) University of Essex, UK
วท.บ.(กายภาพบำบัด) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
วท.ม.(กายวิภาคศาสตร์) มหาวิทยาลัยมหิดล
ปร.ด.(สรีรวิทยาการแพทย์) มหาวิทยาลัยมหิดล
วท.บ.(กายภาพบำบัด) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
วท.ม. (เวชศาสตร์การกีฬา) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
วท.บ.(กายภาพบำบัด) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
วท.ม. (สุขภาพจิต) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
วท.บ.(กายภาพบำบัด) มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ
วท.ม. (วิศวกรรมทางการแพทย์) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
วท.บ.(กายภาพบำบัด) มหาวิทยาลัยขอนแก่น
วท.ม. (กายภาพบำบัด) มหาวิทยาลัยขอนแก่น
วท.บ.(กายภาพบำบัด) มหาวิทยาลัยมหิดล
วท.ม.(กายภาพบำบัด) มหาวิทยาลัยมหิดล
วท.บ.(กายภาพบำบัด) มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ
ปร.ด.(ประสาทวิทยาศาสตร์) มหาวิทยาลัยขอนแก่น
วท.บ.(กายภาพบำบัด) มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
วท.ม. (สรีรวิทยา) มหาวิทยาลัยมหิดล
วท.บ.(กายภาพบำบัด) มหาวิทยาลัยขอนแก่น
วท.ม. (กายภาพบำบัด) มหาวิทยาลัยขอนแก่น
วท.บ. (วิทยาศาสตร์การออกกำลังกายและการกีฬา) มหาวิทยาลัยบูรพา
วท.ม. (วิทยาศาสตร์การกีฬาและสุขภาพ) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
วท.บ.(กายภาพบำบัด) มหาวิทยาลัยมหิดล
วท.ม. (กายวิภาคศาสตร์) มหาวิทยาลัยมหิดล
วท.บ.(กายภาพบำบัด) มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
วท.ม. (กายภาพบำบัด) มหาวิทยาลัยมหิดล
อส.บ.(วิศวกรรมไฟฟ้า) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
วท.ม.(อุปกรณ์การแพทย์) มหาวิทยาลัยพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
วศ.บ. (วิศวกรรม-อุตสาหกรรม) มหาวิทยาลัย ขอนแก่น
วศ.ม. (วิศวกรรม ชีวการแพทย์) มหาวิทยาลัยมหิดล
วท.บ. (เทคนิคการแพทย์) มหาวิทยาลัยมหิดล
วท.ม. (อายุรศาสตร์เขตร้อน) มหาวิทยาลัยมหิดล
วท.บ. (ฟิสิกส์) มหาวิทยาลัยทักษิณ
วท.ม. (การสอนฟิสิกส์) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
Ph.D. (Science and Technology Education) มหาวิทยาลัยมหิดล
วท.บ. (ชีววิทยา) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
วท.ม. (ปรสิตวิทยาทางการแพทย์) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
วศ.บ.(วิศวกรรม เครื่องกล) มหาวิทยาลัยศิลปากร
วศ.ม.(การจัดการงานวิศวกรรม) มหาวิทยาลัยศิลปากร
วท.บ (ฟิสิกส์) (เกียรตินิยมอันดับ 2) มหาวิทยาลัยศิลปากร
วท.ม (ฟิสิกส์) มหาวิทยาลัยศิลปากร
ปร.ด. (ฟิสิกส์) มหาวิทยาลัยศิลปากร
วท.บ. (เทคโนโลยีอาหาร) มหาวิทยาลัยรามคำแหง
วท.ม. (วิทยาศาสตร์การอาหาร) สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
วท.บ. (ชีวเคมี) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
วท.ม. (ชีวเคมี) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
กศ.บ. (วิทยาศาสตร์เคมี) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
วท.ม. (ชีวเคมี) มหาวิทยาลัย ขอนแก่น
ศษ.บ. ( สาขาเคมี) มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์
ศศ.ม.(ศึกษาศาสตร์-การสอน) มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์
พทป.บ.(แพทย์แผนไทยประยุกต์) มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง
วท.ม. (กายวิภาคศาสตร์) มหาวิทยาลัยมหิดล
วท.บ. (วิทยาศาสตร์การแพทย์) มหาวิทยาลัยนเรศวร
วท.ม. (กายวิภาคศาสตร์) มหาวิทยาลัยมหิดล
ศศ.บ. (การสื่อสารมวลชนทางการกีฬา) มหาวิทยาลัยบูรพา
วท.ม. (วิทยาศาสตร์การกีฬาและสุขภาพ) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
กภ.บ. (กายภาพ บำบัด) มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง
วท.ม. (กายวิภาคศาสตร์) มหาวิทยาลัย มหิดล