Christian University of Thailand
ภายหลังสำเร็จการศึกษาจากหลักสูตรผู้ช่วยงานกายภาพบำบัด ผู้สำเร็จการอบรมมีความสามารถและคุณลักษณะดังต่อไปนี้
จำนวนชั่วโมงตลอดหลักสูตร 168 ชั่วโมง เรียนวันเสาร์ และวันอาทิตย์ เป็นระยะเวลาเรียน 3 เดือน ได้แก่
จัดการอบรมแบบภาคพิเศษ เฉพาะวันเสาร์และวันอาทิตย์ รวม 12 สัปดาห์ ดังนี้
สถานที่เรียนภาคปฏิบัติ ฝึกปฏิบัติในแผนกกายภาพบำบัดในโรงพยาบาล และคลินิกกายภาพบำบัดในเขตกรุงเทพมหานคร นครปฐม ราชบุรี สมุทรสาคร
พิจารณาจากผลการสอบสัมภาษณ์ (ประกาศผลหลังสัมภาษณ์ 1 สัปดาห์)
รายละเอียด | วัน เวลา | |
1. การรับสมัครและการสัมภาษณ์ | 1.1 สมัครผ่านเว็บไซต์ และสัมภาษณ์ผ่านระบบออนไลน์ ตั้งแต่วันนี้ ถึงวันศุกร์ที่ 17 มกราคม พ.ศ. 2568 | |
2. การประกาศผลการคัดเลือก | 2.1 ประกาศผลการสอบสัมภาษณ์ทุกวันศุกร์ (ผู้สมัครสามารถตรวจสอบผลผ่านเว็บไซต์ หลังสัมภาษณ์ 1 สัปดาห์) 2.2 ประกาศผลการขึ้นทะเบียนเข้าอบรมทุกวันศุกร์ (ผู้สมัครสามารถตรวจสอบผลผ่านเว็บไซต์ หลังชำระค่าขึ้นทะเบียน 1 สัปดาห์) | |
3. การชำระค่าขึ้นทะเบียน | ผู้สมัครชำระค่าขึ้นทะเบียนจำนวน 2,000 บาท ในระบบการชำระเงินออนไลน์ของมหาวิทยาลัย ภายใน 2 สัปดาห์ หลังการประกาศผลการสอบสัมภาษณ์ | |
4. การรายงานตัวและปฐมนิเทศ | วันเสาร์ที่ 18 มกราคม พ.ศ. 2568 เวลา 09.00 น. |
ค่าลงทะเบียนเรียนตลอดหลักสูตร รวมค่าธรรมเนียมผู้เข้ารับการอบรมใหม่ และค่าธรรมเนียมอื่นๆ สามารถเลือกอัตราค่าลงทะเบียนได้ 2 ประเภท ดังนี้
เบอร์โทรศัพท์ 063-252-4155
หรือที่ Line application “อบรมระยะสั้น มคต.”
รหัสวิชา | ชื่อรายวิชา | ชั่วโมง |
---|---|---|
รายวิชาทฤษฎี (56 ชั่วโมง) | ||
TPTA1101 | กายวิภาคศาสตร์เบื้องต้น | 14 ชั่วโมง |
TPTA1102 | กายอุปกรณ์เบื้องต้น | 14 ชั่วโมง |
TPTA1103 | จรรยาบรรณและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง | 14 ชั่วโมง |
TPTA1104 | การบันทึกและการรายงาน | 14 ชั่วโมง |
รายวิชาปฏิบัติ (42 ชั่วโมง) | ||
TPTA1201 | การฝึกกิจวัตรประจำวันเบื้องต้น | 14 ชั่วโมง |
TPTA1202 | การออกกำลังกายเพื่อการบำบัดขั้นต้น | 14 ชั่วโมง |
TPTA1203 | การเตรียมและการดูแลเครื่องมือกายภาพบำบัดเบื้องต้น | 14 ชั่วโมง |
รายวิชาฝึกปฏิบัติกับผู้ป่วยโดยตรง (70 ชั่วโมง) | ||
TCNA1110 | ฝึกปฏิบัติช่วยงานทางกายภาพบำบัด | 70 ชั่วโมง |
รายวิชาปฏิบัติ | ||
รวม | 168 ชั่วโมง |
หมายเหตุ การประเมินผลการศึกษาใช้ระบบค่าระดับชั้น S (ผ่าน), U (ไม่ผ่าน)
ศูนย์พัฒนาธุรกิจและสมรรถนะด้านวิชาชีพ
โทรศัพท์ 0-3438-8555 ต่อ 3000
Master’s degrees
Doctoral degrees
ชื่อ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ศศิธร รุจนเวช
วุฒิการศึกษา
ความเชี่ยวชาญ
ผลงานวิชาการที่เผยแพร่
รางวัลที่ได้รับ
ชื่อ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ทิพา ต่อสกุลแก้ว
วุฒิการศึกษา
ความเชี่ยวชาญ
ผลงานวิชาการที่เผยแพร่
ชื่อ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ศากุล ช่างไม้
วุฒิการศึกษา
ผลงานวิชาการที่เผยแพร่
ชื่อ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ พันเอกหญิง ดร.นงพิมล นิมิตรอานันท์
วุฒิการศึกษา
ความเชี่ยวชาญ
ผลงานวิชาการที่เผยแพร่
ปีการศึกษา 2561
1) นงพิมล นิมิตรอานันท์ ศศิธร รุจนเวช และ จุฑารัตน์ ผู้พิทักษ์กุล. (2562). รูปแบบการสื่อสารความเสี่ยงทางสุขภาพโรคหลอดเลือดสมองตามมิติวัฒนธรรมของกลุ่มชาติพันธุ์ไทยทรงดำ: กรณีศึกษาชุมชนสะแกราย จังหวัดนครปฐม. วารสารคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา, 27(2) (เมษายน–มิถุนายน),80-92.
2) อุษา ตันทพงษ์ นงพิมล นิมิตรอานันท์ และ ศศิธร รุจนเวช. (2562). ปัจจัยคัดสรรที่มีผลต่อพฤติกรรมการป้องกันโรคข้อเข่าเสื่อมชนิดปฐมภูมิของครูในจังหวัดนครปฐม. วารสารพยาบาลทหารบก, 20(2) (พฤษภาคม-สิงหาคม),316-326.
วิทยานิพนธ์
3) ภาวินี กุลษรเวทย์ สุธีรา ฮุ่นตระกูล และ นงพิมล นิมิตรอานันท์. (2561). ผลของโปรแกรมการเสริมพลังในการป้องกันโรคข้อเข่าเสื่อมชนิดปฐมภูมิในอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านที่มีภาวะเสี่ยงโรคข้อเข่าเสื่อมที่ชุมชนแห่งหนึ่งในจังหวัดเพชรบุรี. วารสารแพทย์นาวี,45(3),578-598.[TCIกลุ่ม 1]
4) ดุจนฤภา ภาคปิยวัชร์ สุธีรา ฮุ่นตระกูล และ นงพิมล นิมิตรอานันท์. (2561). ผลของโปรแกรมการจัดการตนเองด้านการใช้ยาอย่างเคร่งครัดในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมไม่ได้ที่คลินิกเอกชนแห่งหนึ่งในจังหวัดปทุมธานี. วารสารแพทย์นาวี, 45(2), 377-398. [TCI กลุ่ม 1]
5) สุพัตรา เชาว์ไวย นงพิมล นิมิตรอานันท์ และ ศศิธร รุจนเวช. (2562). ผลของโปรแกรมการสร้างเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพในผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 รายใหม่ในชุมชน. วารสารโรงพยาบาลชลบุรี, 44(1), 25-34. [TCI กลุ่ม 1]
6) วิราพร สืบสุนทร นงพิมล นิมิตรอานันท์ และ ศศิธร รุจนเวช. (2562). ผลของโปรแกรมการส่งเสริมสมรรถนะของตนต่อพฤติกรรมการป้องกันการหกล้ม และสมรรถนะทางกายของผู้สูงอายุในชุมชน. วารสารโรงพยาบาลชลบุรี, 44(2), 119-129. [TCI กลุ่ม 1]
ปีการศึกษา 2562
7) นงพิมล นิมิตรอานันท์ วิชุดา กลิ่นหอม และ ฐิติมา หมอทรัพย์. (2563). การเสริมพลังชุมชน: มโนทัศน์และการประยุกต์ในการปฏิบัติการพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชน. วารสารการพยาบาลและสุขภาพ,14(1), (มกราคม-เมษายน) 13–23.
8)นงพิมล นิมิตรอานันท์ วิชุดา กลิ่นหอม เจือจันทร์ วัฒกีเจริญ และ ชลทิพย์ ทิพย์แก้ว. (2563). การพัฒนารูปแบบการป้องกันการหกล้มของผู้สูงอายุแบบมีส่วนร่วมของชุมชน. วารสารพยาบาลทหารบก, 21(2) พฤษภาคม-สิงหาคม,389-399.
วิทยานิพนธ์
9) กัญญาภัทธ ปราบริปู, ศศิธร รุจนเวช และ นงพิมล นิมิตรอานันท์. (2563). ผลของโปรแกรมการจัดการอาการต่อความรุนแรงของโรคและพฤติกรรมการดูแลตนเองของผู้สูงอายุกลุ่มเสี่ยงโรคข้อเข้าเสื่อมชนิดปฐมภูมิ. วารสารการพยาบาลและสุขภาพ. 14(1), 1-13, (มกราคม–เมษายน 2563). (TCI 2)
ปีการศึกษา 2563
10) นงพิมล นิมิตรอานันท์ สุพัตรา เชาว์ไวย และ วิราพร สืบสุนทร. (2563). การออกกำลังกายแบบก้าวตามตารางเพื่อป้องกันการหกล้มของผู้สูงอายุในชุมชน: การวิเคราะห์วรรณกรรม. วารสารแพทย์นาวี, 48(1),23-36. มกราคม-เมษายน. [TCI กลุ่ม 1]
รางวัลที่ได้รับ
อาจารย์ พันตำรวจเอกหญิง ดร.กิตติยา ชัชวาลชาญชนกิจ
วุฒิการศึกษา
1. ปร.ด.(การจัดการ) มหาวิทยาลัยสยาม
2. บธ.ม.(การจัดการ) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
3. พย.บ. วิทยาลัยพยาบาลตำรวจ
อาจารย์ สุพาพร ศิริผึ้ง
วุฒิการศึกษา
1. บธ.ม. (การจัดการทั่วไป) มหาวิทยาลัยรามคำแหง
2. บริหารธุรกิจบัณฑิต (อุตสาหกรรมการบริการ)มหาวิทยาลัยรามคำแหง
อาจารย์ เสาวลักษณ์ นัทธีศรี
วุฒิการศึกษา
1. กจ.ม. (การบริหารรัฐกิจ) มหาวิทยาลัยคริสเตียน
2. ศศ.บ. (การพัฒนาชุมชน) มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
วท.บ.(กายภาพบำบัด) มหาวิทยาลัยมหิดล
วท.ม.(กายภาพบำบัด) มหาวิทยาลัยมหิดล
วท.บ.(กายภาพบำบัด) มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ
ปร.ด.(ประสาทวิทยาศาสตร์) มหาวิทยาลัยขอนแก่น
วท.บ.(กายภาพบำบัด) มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
วท.ม. (สรีรวิทยา) มหาวิทยาลัยมหิดล
วศ.บ. (วิศวกรรม-อุตสาหกรรม) มหาวิทยาลัย ขอนแก่น
วศ.ม. (วิศวกรรม ชีวการแพทย์) มหาวิทยาลัยมหิดล
กศ.บ. (วิทยาศาสตร์เคมี) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
วท.ม. (ชีวเคมี) มหาวิทยาลัย ขอนแก่น
วท.บ. (วิทยาศาสตร์การแพทย์) มหาวิทยาลัยนเรศวร
วท.ม. (กายวิภาคศาสตร์) มหาวิทยาลัยมหิดล
กภ.บ. (กายภาพ บำบัด) มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง
วท.ม. (กายวิภาคศาสตร์) มหาวิทยาลัย มหิดล