มหาวิทยาลัยคริสเตียน เป็นมหาวิทยาลัยเอกชนอันดับต้นๆ ของประเทศที่อยู่ภายใต้สังกัดมูลนิธิแห่งสภาคริสตจักรในประเทศไทย ตั้งอยู่ที่จังหวัดนครปฐม เปิดดำเนินการสอนมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2526 มีความโดดเด่นด้านพยาบาลและวิทยาศาสตร์สุขภาพ จนได้รับการยอมรับจากองค์กรทั้งในและต่างประเทศ จึงทำให้สถาบันแห่งนี้กลายเป็นตัวเลือกแรกๆ ของผู้ที่สนใจเรียนพยาบาลและสาขาด้านวิทย์สุขภาพ
สำหรับคณะและสาขาวิชาที่ทางมหาวิทยาลัยคริสเตียนเปิดสอน จะมีท้ังหมด 11 หลักสูตรด้วยกัน
โดยแบ่งออกเป็นระดับปริญญาตรีทั้งหมด 10 หลักสูตร และระดับประกาศนียบัตร 1 หลักสูตร ดังนี้
1. สาขาพยาบาลศาสตร์
2. สาขาพยาบาลศาสตร์ (นานาชาติ)
3. หลักสูตรประกาศนียบัตรผู้ช่วยพยาบาล (PN 1 ปี)
4. สาขากายภาพบำบัด
5. สาขานวัตกรรมเทคโนโลยีอาหารและโภชนาการ
6. สาขาวิทยาศาสตร์การกีฬาและการออกกำลังกาย
7. สาขาวิศวกรรมชีวการแพทย์
8. สาขาการจัดการบริการสุขภาพ
9. สาขาการออกแบบกราฟิกและมัลติมีเดีย
10. สาขาการจัดการท่องเที่ยวและบริการ
11. สาขาการจัดการนวัตกรรมการค้า
ด้วยความที่มหาวิทยาลัยคริสเตียนเป็นมหาวิทยาลัยเอกชนชั้นนำอันดับต้นๆ ของประเทศไทย ที่มุ่งเน้นขยายโอกาสทางการศึกษาระดับในระดับอุดมศึกษา ให้ทุกคนสามารถเข้าถึงได้ง่ายมากยิ่งขึ้น ทำให้ค่าเทอมของแต่ละสาขานั้นไม่แพง สามารถจับต้องได้
ซึ่งค่าเทอมของแต่ละสาขาที่ทางมหาวิทยาลัยเปิดสอน จะคิดรวมค่าใช้จ่ายตลอดทั้งหลักสูตร เป็นการประมาณการค่าหน่วยกิต ค่าบำรุงการศึกษา ค่าธรรมเนียม และค่าใช้จ่ายอื่นๆ (ไม่รวมค่าใช้จ่ายเพิ่มเติมตลอดหลักสูตร ที่ขึ้นอยู่กับการลงทะเบียนของบัณฑิตในแต่ละเทอม หรือค่าใช้จ่ายที่มีการแปรผัน)โดยมีรายละเอียดดังต่อไปนี้
คณะพยาบาลศาสตร์
คณะวิทยาศาสตร์
คณะสหวิทยาการ
สามารถสมัครเรียนออนไลน์ได้ตั้งแต่วันนี้ โดยที่ทุกๆ สาขามีขั้นตอนการสมัครเรียนออนไลน์เหมือนกัน สมัครง่าย รอเรียกสัมภาษณ์ได้เลย
มหาวิทยาลัยคริสเตียนได้เตรียมพร้อมในทุกๆ ด้านให้กับนักศึกษา เพื่อเพิ่มโอกาสได้งานทำหลังจบการศึกษา
โดยเตรียมความพร้อมให้ตั้งแต่เริ่มเข้าศึกษาจนกระทั่งจบหลักสูตร
– ผู้ที่เรียนพยาบาล หลักสูตรปกติ และผู้ที่เรียนผู้ช่วยพยาบาล มีโอกาสได้ฝึกงานที่โรงพยาบาลชั้นนำ
– ผู้ที่เรียนพยาบาล นานาชาติ มีโอกาสได้ฝึกงานในโรงพยาบาลที่ต่างประเทศ
– ผู้ที่เรียนกายภาพบำบัด จะได้ฝึกครบทุกคลินิคเฉพาะทาง
– ผู้ที่เรียนวิศวกรรมชีวการแพทย์ วิทยาศาสตร์การกีฬาฯ และนวัตกรรมฯ อาหารและโภชนาการ ได้ฝึกใช้เครื่องมือจริง พร้อมฝึกทักษะค้นคว้าวิจัย ต่อยอดอาชีพได้
– ผู้ที่เรียนออกแบบกราฟิกฯ และการจัดการบริการสุขภาพ ได้ฝึกใช้ทักษะจนมีความชำนาญ มีความได้เปรียบกว่า
– ผู้ที่เรียนการจัดการท่องเที่ยวและบริการ
มีโอกาสได้ฝึกงานในสถานประกอบการที่มีชื่อเสียงทั้งในและต่างประเทศ
เพราะฉะนั้นความเชื่อที่ว่า “เรียนมหาวิทยาลัยเอกชนแล้วจะหางานยาก” ถูกพิสูจน์แล้วว่าไม่จริง เพราะจบที่นี่มีโอกาสได้งานทำหลังจบการศึกษาสูงมาก เพราะมีครบทั้งความรู้และทักษะวิชาชีพ การันตีด้วยสถิติรุ่นพี่บัณฑิตได้งานทำทุกคน
สิ่งแวดล้อมและบรรยากาศในมหาวิทยาลัยเป็นสิ่งที่ทางมหาวิทยาลัยคริสเตียนให้ความสำคัญเป็นอย่างมาก ทางบุคลากรในภาคส่วนต่างๆ พยายามจัดองค์ประกอบทุกอย่างให้มีความเหมาะสม และเอื้อต่อการเรียนรู้ของนักศึกษามากที่สุด
ดังนั้น ใครที่อยากเรียนพยาบาล กายภาพบำบัด วิทย์กีฬาฯ รวมไปถึงสาขาอื่นๆ ไม่ต้องกังวลเรื่องสภาพแวดล้อมเลย ใช้ชีวิตได้สะดวกสบายเหมือนบ้านหลังที่ 2 อย่างแน่นอน
นอกจากมหาวิทยาลัยคริสเตียนจะให้ความสำคัญกับสิ่งแวดล้อมในมหาวิทยาลัยแล้ว ในส่วนของคุณภาพชีวิตของนักศึกษาก็มีความสำคัญไม่แพ้กัน
ขอตอกย้ำคุณภาพของมหาวิทยาลัยคริสเตียน
มหาวิทยาลัยเอกชนที่ได้รับการยอมรับในระดับประเทศ ด้วยประสบการณ์ตรงจากรุ่นพี่ทุกสาขา
“มหาวิทยาลัยคริสเตียนมุ่งผลิตบัณฑิตที่มีคุณภาพ มีจริยธรรมและคุณธรรม ในการเสริมสร้างคุณค่าให้กับองค์กร ชุมชน และสังคม ด้วยนวัตกรรมและระบบนิเวศ เพื่อสร้างความได้เปรียบเชิงการแข่งขันให้กับองค์กร และประเทศ”
วท.บ. (ฟิสิกส์) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
วศ.ม. (วิศวกรรมไฟฟ้าและสารสนเทศ) (หลักสูตรนานาชาติ) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
ปร.ด. (วิศวกรรม ไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์) (หลักสูตรนานาชาติ) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
ชื่อ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ศศิธร รุจนเวช
วุฒิการศึกษา
ความเชี่ยวชาญ
ผลงานวิชาการที่เผยแพร่
รางวัลที่ได้รับ
ชื่อ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ทิพา ต่อสกุลแก้ว
วุฒิการศึกษา
ความเชี่ยวชาญ
ผลงานวิชาการที่เผยแพร่
ชื่อ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ศากุล ช่างไม้
วุฒิการศึกษา
ผลงานวิชาการที่เผยแพร่
ชื่อ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ พันเอกหญิง ดร.นงพิมล นิมิตรอานันท์
วุฒิการศึกษา
ความเชี่ยวชาญ
ผลงานวิชาการที่เผยแพร่
ปีการศึกษา 2561
1) นงพิมล นิมิตรอานันท์ ศศิธร รุจนเวช และ จุฑารัตน์ ผู้พิทักษ์กุล. (2562). รูปแบบการสื่อสารความเสี่ยงทางสุขภาพโรคหลอดเลือดสมองตามมิติวัฒนธรรมของกลุ่มชาติพันธุ์ไทยทรงดำ: กรณีศึกษาชุมชนสะแกราย จังหวัดนครปฐม. วารสารคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา, 27(2) (เมษายน–มิถุนายน),80-92.
2) อุษา ตันทพงษ์ นงพิมล นิมิตรอานันท์ และ ศศิธร รุจนเวช. (2562). ปัจจัยคัดสรรที่มีผลต่อพฤติกรรมการป้องกันโรคข้อเข่าเสื่อมชนิดปฐมภูมิของครูในจังหวัดนครปฐม. วารสารพยาบาลทหารบก, 20(2) (พฤษภาคม-สิงหาคม),316-326.
วิทยานิพนธ์
3) ภาวินี กุลษรเวทย์ สุธีรา ฮุ่นตระกูล และ นงพิมล นิมิตรอานันท์. (2561). ผลของโปรแกรมการเสริมพลังในการป้องกันโรคข้อเข่าเสื่อมชนิดปฐมภูมิในอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านที่มีภาวะเสี่ยงโรคข้อเข่าเสื่อมที่ชุมชนแห่งหนึ่งในจังหวัดเพชรบุรี. วารสารแพทย์นาวี,45(3),578-598.[TCIกลุ่ม 1]
4) ดุจนฤภา ภาคปิยวัชร์ สุธีรา ฮุ่นตระกูล และ นงพิมล นิมิตรอานันท์. (2561). ผลของโปรแกรมการจัดการตนเองด้านการใช้ยาอย่างเคร่งครัดในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมไม่ได้ที่คลินิกเอกชนแห่งหนึ่งในจังหวัดปทุมธานี. วารสารแพทย์นาวี, 45(2), 377-398. [TCI กลุ่ม 1]
5) สุพัตรา เชาว์ไวย นงพิมล นิมิตรอานันท์ และ ศศิธร รุจนเวช. (2562). ผลของโปรแกรมการสร้างเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพในผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 รายใหม่ในชุมชน. วารสารโรงพยาบาลชลบุรี, 44(1), 25-34. [TCI กลุ่ม 1]
6) วิราพร สืบสุนทร นงพิมล นิมิตรอานันท์ และ ศศิธร รุจนเวช. (2562). ผลของโปรแกรมการส่งเสริมสมรรถนะของตนต่อพฤติกรรมการป้องกันการหกล้ม และสมรรถนะทางกายของผู้สูงอายุในชุมชน. วารสารโรงพยาบาลชลบุรี, 44(2), 119-129. [TCI กลุ่ม 1]
ปีการศึกษา 2562
7) นงพิมล นิมิตรอานันท์ วิชุดา กลิ่นหอม และ ฐิติมา หมอทรัพย์. (2563). การเสริมพลังชุมชน: มโนทัศน์และการประยุกต์ในการปฏิบัติการพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชน. วารสารการพยาบาลและสุขภาพ,14(1), (มกราคม-เมษายน) 13–23.
8)นงพิมล นิมิตรอานันท์ วิชุดา กลิ่นหอม เจือจันทร์ วัฒกีเจริญ และ ชลทิพย์ ทิพย์แก้ว. (2563). การพัฒนารูปแบบการป้องกันการหกล้มของผู้สูงอายุแบบมีส่วนร่วมของชุมชน. วารสารพยาบาลทหารบก, 21(2) พฤษภาคม-สิงหาคม,389-399.
วิทยานิพนธ์
9) กัญญาภัทธ ปราบริปู, ศศิธร รุจนเวช และ นงพิมล นิมิตรอานันท์. (2563). ผลของโปรแกรมการจัดการอาการต่อความรุนแรงของโรคและพฤติกรรมการดูแลตนเองของผู้สูงอายุกลุ่มเสี่ยงโรคข้อเข้าเสื่อมชนิดปฐมภูมิ. วารสารการพยาบาลและสุขภาพ. 14(1), 1-13, (มกราคม–เมษายน 2563). (TCI 2)
ปีการศึกษา 2563
10) นงพิมล นิมิตรอานันท์ สุพัตรา เชาว์ไวย และ วิราพร สืบสุนทร. (2563). การออกกำลังกายแบบก้าวตามตารางเพื่อป้องกันการหกล้มของผู้สูงอายุในชุมชน: การวิเคราะห์วรรณกรรม. วารสารแพทย์นาวี, 48(1),23-36. มกราคม-เมษายน. [TCI กลุ่ม 1]
รางวัลที่ได้รับ
อาจารย์ รุ่งแก้ว พุ่มโพธิ์
วุฒิการศึกษา
1. M.B.A. (Doubled Majors in International Business and Operations and Supply Chain Management), University of Wisconsin – Whitewater, USA
2. ศศ.บ. (ภาษาและวัฒนธรรมเพื่อการสื่อสารและการพัฒนา) สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย มหาวิทยาลัยมหิดล
3. บธ.บ. (การจัดการธุรกิจระหว่างประเทศ) มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ
อาจารย์ พันตำรวจเอกหญิง ดร.กิตติยา ชัชวาลชาญชนกิจ
วุฒิการศึกษา
1. ปร.ด.(การจัดการ) มหาวิทยาลัยสยาม
2. บธ.ม.(การจัดการ) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
3. พย.บ. วิทยาลัยพยาบาลตำรวจ
อาจารย์ สุพาพร ศิริผึ้ง
วุฒิการศึกษา
1. บธ.ม. (การจัดการทั่วไป) มหาวิทยาลัยรามคำแหง
2. บริหารธุรกิจบัณฑิต (อุตสาหกรรมการบริการ)มหาวิทยาลัยรามคำแหง
อาจารย์ เสาวลักษณ์ นัทธีศรี
วุฒิการศึกษา
1. กจ.ม. (การบริหารรัฐกิจ) มหาวิทยาลัยคริสเตียน
2. ศศ.บ. (การพัฒนาชุมชน) มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
อาจารย์ ดร.ธฤษณุวัชร ไชยโคตร
วท.บ.(กายภาพบำบัด) มหาวิทยาลัยมหิดล
วท.ม.(เวชศาสตร์การกีฬา) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Ph.D(Sport and Exercise Medicine) University of Essex, UK
วท.บ.(กายภาพบำบัด) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
วท.ม.(กายวิภาคศาสตร์) มหาวิทยาลัยมหิดล
ปร.ด.(สรีรวิทยาการแพทย์) มหาวิทยาลัยมหิดล
วท.บ.(กายภาพบำบัด) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
วท.ม. (เวชศาสตร์การกีฬา) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
วท.บ.(กายภาพบำบัด) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
วท.ม. (สุขภาพจิต) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
วท.บ.(กายภาพบำบัด) มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ
วท.ม. (วิศวกรรมทางการแพทย์) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
วท.บ.(กายภาพบำบัด) มหาวิทยาลัยขอนแก่น
วท.ม. (กายภาพบำบัด) มหาวิทยาลัยขอนแก่น
วท.บ.(กายภาพบำบัด) มหาวิทยาลัยมหิดล
วท.ม.(กายภาพบำบัด) มหาวิทยาลัยมหิดล
วท.บ.(กายภาพบำบัด) มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ
ปร.ด.(ประสาทวิทยาศาสตร์) มหาวิทยาลัยขอนแก่น
วท.บ.(กายภาพบำบัด) มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
วท.ม. (สรีรวิทยา) มหาวิทยาลัยมหิดล
วท.บ.(กายภาพบำบัด) มหาวิทยาลัยขอนแก่น
วท.ม. (กายภาพบำบัด) มหาวิทยาลัยขอนแก่น
วท.บ. (วิทยาศาสตร์การออกกำลังกายและการกีฬา) มหาวิทยาลัยบูรพา
วท.ม. (วิทยาศาสตร์การกีฬาและสุขภาพ) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
วท.บ.(กายภาพบำบัด) มหาวิทยาลัยมหิดล
วท.ม. (กายวิภาคศาสตร์) มหาวิทยาลัยมหิดล
วท.บ.(กายภาพบำบัด) มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
วท.ม. (กายภาพบำบัด) มหาวิทยาลัยมหิดล
อส.บ.(วิศวกรรมไฟฟ้า) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
วท.ม.(อุปกรณ์การแพทย์) มหาวิทยาลัยพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
วศ.บ. (วิศวกรรม-อุตสาหกรรม) มหาวิทยาลัย ขอนแก่น
วศ.ม. (วิศวกรรม ชีวการแพทย์) มหาวิทยาลัยมหิดล
วท.บ. (เทคนิคการแพทย์) มหาวิทยาลัยมหิดล
วท.ม. (อายุรศาสตร์เขตร้อน) มหาวิทยาลัยมหิดล
วท.บ. (ฟิสิกส์) มหาวิทยาลัยทักษิณ
วท.ม. (การสอนฟิสิกส์) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
Ph.D. (Science and Technology Education) มหาวิทยาลัยมหิดล
วท.บ. (ชีววิทยา) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
วท.ม. (ปรสิตวิทยาทางการแพทย์) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
วศ.บ.(วิศวกรรม เครื่องกล) มหาวิทยาลัยศิลปากร
วศ.ม.(การจัดการงานวิศวกรรม) มหาวิทยาลัยศิลปากร
วท.บ (ฟิสิกส์) (เกียรตินิยมอันดับ 2) มหาวิทยาลัยศิลปากร
วท.ม (ฟิสิกส์) มหาวิทยาลัยศิลปากร
ปร.ด. (ฟิสิกส์) มหาวิทยาลัยศิลปากร
วท.บ. (เทคโนโลยีอาหาร) มหาวิทยาลัยรามคำแหง
วท.ม. (วิทยาศาสตร์การอาหาร) สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
วท.บ. (ชีวเคมี) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
วท.ม. (ชีวเคมี) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
กศ.บ. (วิทยาศาสตร์เคมี) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
วท.ม. (ชีวเคมี) มหาวิทยาลัย ขอนแก่น
ศษ.บ. ( สาขาเคมี) มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์
ศศ.ม.(ศึกษาศาสตร์-การสอน) มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์
พทป.บ.(แพทย์แผนไทยประยุกต์) มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง
วท.ม. (กายวิภาคศาสตร์) มหาวิทยาลัยมหิดล
วท.บ. (วิทยาศาสตร์การแพทย์) มหาวิทยาลัยนเรศวร
วท.ม. (กายวิภาคศาสตร์) มหาวิทยาลัยมหิดล
ศศ.บ. (การสื่อสารมวลชนทางการกีฬา) มหาวิทยาลัยบูรพา
วท.ม. (วิทยาศาสตร์การกีฬาและสุขภาพ) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
กภ.บ. (กายภาพ บำบัด) มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง
วท.ม. (กายวิภาคศาสตร์) มหาวิทยาลัย มหิดล