Christian University of Thailand
>> จบวิทย์กีฬาฯ เลือกทำงานได้เยอะมาก! <<
*ด้วยความที่หลักสูตรนี้ออกแบบโดยผู้เชี่ยวชาญในวงการกีฬา
*ทำให้มีเนื้อหาที่ครอบคลุมสายงานต่างๆ เลือกทำงานได้เยอะมาก
✅ นักกีฬาอาชีพ
– เข้าร่วมการแข่งขันต่างๆ
– ฝึกซ้อมตามโปรแกรมที่โค้ชจัดไว้ให้
– ยิ่งได้เรียนวิทย์กีฬา ก็ยิ่งช่วยให้อาชีพนี้สามารถไปได้ไกลมากขึ้น
– เพราะสามารถใช้ความรู้ที่มีอยู่มาพัฒนาศักยภาพตัวเอง
– อีกทั้งยังช่วยให้สามารถวิเคราะห์เกมการแข่งขันได้
✅ นักวิทยาศาสตร์การกีฬา
– ช่วยดูแลนักกีฬาทั้งร่างกายและจิตใจ
– คอยศึกษาและหาเทคนิคกีฬาดีๆ ให้กับนักกีฬา
– ต้องทำงานร่วมกับโค้ชกีฬา
– ซึ่งในหลักสูตรจะมีการสอนเนื้อหาที่ครอบคลุมอยู่แล้ว
– ทั้งด้านกายวิภาค สรีรวิทยา ชีวกลศาสตร์ โภชนาการ และอื่นๆ
– อีกทั้งยังลงลึกเกี่ยวกับกีฬาต่างๆ ด้วย
– ทำให้เข้าใจความต้องการของนักกีฬาได้เป็นอย่างดี
✅ เทรนเนอร์
– จัดโปรแกรมออกกำลังกายให้กับแต่ละคน
– ให้คำแนะนำวิธีการออกำลังกายที่ถูกต้อง
– ซึ่งหลักสูตรนี้จะเน้นเรื่องการจัดโปรแกรมการออกกำลังกาย
– โดยเฉพาะกับผู้สูงอายุ ผู้พิการ และเด็ก
– นอกจากนั้นยังมีการฝึกปฏิบัติ ได้ลงสนามจริง
– สามารถแนะนำท่าทางการออกกำลังกายได้ถูกวิธี
✅ โค้ช
– จัดโปรแกรมการฝึกซ้อมให้กับนักกีฬา
– วางแผนรูปแบบการเล่นกีฬาในแต่ละการแข่งขัน
– โดยใช้ความรู้หลายๆ ด้านมาประยุกต์ด้วยกัน
– ซึ่งในหลักสูตรนี้ น้องๆ จะได้ฝึกจัดโปรแกรมแบบนี้อยู่แล้ว
– ทำให้มีประสบการณ์ สามารถเลือกวิธีการฝึกที่มีประสิทธิภาพได้
✅ นักวิเคราะห์สมรรถนะเชิงกีฬา
– วิเคราะห์ทักษะของนักกีฬาแต่ละคน
– พร้อมศึกษาและหาข้อมูลเพื่อพัฒนาทักษะของนักกีฬาต่อไป
– โดยใช้ความรู้ในหลายๆ ด้าน ซึ่ง ม.คริสเตียน สอนครอบคลุมอยู่แล้ว
– ทั้งในเรื่องของกายวิภาค ชีวกลศาสตร์ ฯลฯ
– ทำให้สามารถวิเคราะห์จุดแข็ง จุดอ่อน และวิธีแก้ไขได้ตรงจุด
✅ ผู้ตัดสินกีฬา
– มีความเข้าใจและรู้กฎกติกาของกีฬาประเภทนั้นๆ
– ต้องทำงานร่วมกับผู้ตัดสินคนอื่นๆ
– มีรายวิชาที่สอนเกี่ยวกับกีฬาชนิดต่างๆ
– นอกจากนั้นยังมีอาจารย์ที่มีประสบการณ์เป็นผู้ตัดสินกีฬา
– ทำให้มีความรู้และได้เคล็ดลับต่างๆ มามากมาย
✅ นักจิตวิทยาการกีฬา
– ช่วยสร้างแรงใจให้กับนักกีฬา
– ช่วยให้คำแนะนำเมื่อนักกีฬาต้องพบเจอกับความล้มเหลว
– ช่วยหาวิธีคลายเครียดที่เหมาะสม
– ซึ่งจะต้องใช้ความรู้ในรายวิชาจิตวิทยาการกีฬา
– เพื่อให้สามารถหาวิธีผ่อนคลายที่มีประสิทธิภาพได้
*ดังนั้น ใครที่อยากทำงานในวงการกีฬาต้องรีบสมัครแล้ว
*เพราะหลักสูตรพร้อมผลักดันให้น้องๆ ได้ทำตามความฝัน
*อาจารย์พร้อมส่งเสริมในทุกๆ ด้าน ยื่นใบสมัครเลย!
—————————-
#WellnessEducation #มหาวิทยาลัยคริสเตียนนครปฐม #มอคริสเตียน #มหาวิทยาลัยที่โดดเด่นด้านสุขภาวะ #สายสุขภาพ #สายวิชาชีพ #จบมามีงานทำ100% #กราฟิกและมัลติมีเดียคริสเตียน
ชื่อ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ศศิธร รุจนเวช
วุฒิการศึกษา
ความเชี่ยวชาญ
ผลงานวิชาการที่เผยแพร่
รางวัลที่ได้รับ
ชื่อ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ทิพา ต่อสกุลแก้ว
วุฒิการศึกษา
ความเชี่ยวชาญ
ผลงานวิชาการที่เผยแพร่
ชื่อ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ศากุล ช่างไม้
วุฒิการศึกษา
ผลงานวิชาการที่เผยแพร่
ชื่อ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ พันเอกหญิง ดร.นงพิมล นิมิตรอานันท์
วุฒิการศึกษา
ความเชี่ยวชาญ
ผลงานวิชาการที่เผยแพร่
ปีการศึกษา 2561
1) นงพิมล นิมิตรอานันท์ ศศิธร รุจนเวช และ จุฑารัตน์ ผู้พิทักษ์กุล. (2562). รูปแบบการสื่อสารความเสี่ยงทางสุขภาพโรคหลอดเลือดสมองตามมิติวัฒนธรรมของกลุ่มชาติพันธุ์ไทยทรงดำ: กรณีศึกษาชุมชนสะแกราย จังหวัดนครปฐม. วารสารคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา, 27(2) (เมษายน–มิถุนายน),80-92.
2) อุษา ตันทพงษ์ นงพิมล นิมิตรอานันท์ และ ศศิธร รุจนเวช. (2562). ปัจจัยคัดสรรที่มีผลต่อพฤติกรรมการป้องกันโรคข้อเข่าเสื่อมชนิดปฐมภูมิของครูในจังหวัดนครปฐม. วารสารพยาบาลทหารบก, 20(2) (พฤษภาคม-สิงหาคม),316-326.
วิทยานิพนธ์
3) ภาวินี กุลษรเวทย์ สุธีรา ฮุ่นตระกูล และ นงพิมล นิมิตรอานันท์. (2561). ผลของโปรแกรมการเสริมพลังในการป้องกันโรคข้อเข่าเสื่อมชนิดปฐมภูมิในอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านที่มีภาวะเสี่ยงโรคข้อเข่าเสื่อมที่ชุมชนแห่งหนึ่งในจังหวัดเพชรบุรี. วารสารแพทย์นาวี,45(3),578-598.[TCIกลุ่ม 1]
4) ดุจนฤภา ภาคปิยวัชร์ สุธีรา ฮุ่นตระกูล และ นงพิมล นิมิตรอานันท์. (2561). ผลของโปรแกรมการจัดการตนเองด้านการใช้ยาอย่างเคร่งครัดในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมไม่ได้ที่คลินิกเอกชนแห่งหนึ่งในจังหวัดปทุมธานี. วารสารแพทย์นาวี, 45(2), 377-398. [TCI กลุ่ม 1]
5) สุพัตรา เชาว์ไวย นงพิมล นิมิตรอานันท์ และ ศศิธร รุจนเวช. (2562). ผลของโปรแกรมการสร้างเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพในผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 รายใหม่ในชุมชน. วารสารโรงพยาบาลชลบุรี, 44(1), 25-34. [TCI กลุ่ม 1]
6) วิราพร สืบสุนทร นงพิมล นิมิตรอานันท์ และ ศศิธร รุจนเวช. (2562). ผลของโปรแกรมการส่งเสริมสมรรถนะของตนต่อพฤติกรรมการป้องกันการหกล้ม และสมรรถนะทางกายของผู้สูงอายุในชุมชน. วารสารโรงพยาบาลชลบุรี, 44(2), 119-129. [TCI กลุ่ม 1]
ปีการศึกษา 2562
7) นงพิมล นิมิตรอานันท์ วิชุดา กลิ่นหอม และ ฐิติมา หมอทรัพย์. (2563). การเสริมพลังชุมชน: มโนทัศน์และการประยุกต์ในการปฏิบัติการพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชน. วารสารการพยาบาลและสุขภาพ,14(1), (มกราคม-เมษายน) 13–23.
8)นงพิมล นิมิตรอานันท์ วิชุดา กลิ่นหอม เจือจันทร์ วัฒกีเจริญ และ ชลทิพย์ ทิพย์แก้ว. (2563). การพัฒนารูปแบบการป้องกันการหกล้มของผู้สูงอายุแบบมีส่วนร่วมของชุมชน. วารสารพยาบาลทหารบก, 21(2) พฤษภาคม-สิงหาคม,389-399.
วิทยานิพนธ์
9) กัญญาภัทธ ปราบริปู, ศศิธร รุจนเวช และ นงพิมล นิมิตรอานันท์. (2563). ผลของโปรแกรมการจัดการอาการต่อความรุนแรงของโรคและพฤติกรรมการดูแลตนเองของผู้สูงอายุกลุ่มเสี่ยงโรคข้อเข้าเสื่อมชนิดปฐมภูมิ. วารสารการพยาบาลและสุขภาพ. 14(1), 1-13, (มกราคม–เมษายน 2563). (TCI 2)
ปีการศึกษา 2563
10) นงพิมล นิมิตรอานันท์ สุพัตรา เชาว์ไวย และ วิราพร สืบสุนทร. (2563). การออกกำลังกายแบบก้าวตามตารางเพื่อป้องกันการหกล้มของผู้สูงอายุในชุมชน: การวิเคราะห์วรรณกรรม. วารสารแพทย์นาวี, 48(1),23-36. มกราคม-เมษายน. [TCI กลุ่ม 1]
รางวัลที่ได้รับ
อาจารย์ พันตำรวจเอกหญิง ดร.กิตติยา ชัชวาลชาญชนกิจ
วุฒิการศึกษา
1. ปร.ด.(การจัดการ) มหาวิทยาลัยสยาม
2. บธ.ม.(การจัดการ) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
3. พย.บ. วิทยาลัยพยาบาลตำรวจ
อาจารย์ สุพาพร ศิริผึ้ง
วุฒิการศึกษา
1. บธ.ม. (การจัดการทั่วไป) มหาวิทยาลัยรามคำแหง
2. บริหารธุรกิจบัณฑิต (อุตสาหกรรมการบริการ)มหาวิทยาลัยรามคำแหง
อาจารย์ เสาวลักษณ์ นัทธีศรี
วุฒิการศึกษา
1. กจ.ม. (การบริหารรัฐกิจ) มหาวิทยาลัยคริสเตียน
2. ศศ.บ. (การพัฒนาชุมชน) มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
วท.บ.(กายภาพบำบัด) มหาวิทยาลัยมหิดล
วท.ม.(กายภาพบำบัด) มหาวิทยาลัยมหิดล
วท.บ.(กายภาพบำบัด) มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ
ปร.ด.(ประสาทวิทยาศาสตร์) มหาวิทยาลัยขอนแก่น
วท.บ.(กายภาพบำบัด) มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
วท.ม. (สรีรวิทยา) มหาวิทยาลัยมหิดล
วศ.บ. (วิศวกรรม-อุตสาหกรรม) มหาวิทยาลัย ขอนแก่น
วศ.ม. (วิศวกรรม ชีวการแพทย์) มหาวิทยาลัยมหิดล
กศ.บ. (วิทยาศาสตร์เคมี) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
วท.ม. (ชีวเคมี) มหาวิทยาลัย ขอนแก่น
วท.บ. (วิทยาศาสตร์การแพทย์) มหาวิทยาลัยนเรศวร
วท.ม. (กายวิภาคศาสตร์) มหาวิทยาลัยมหิดล
กภ.บ. (กายภาพ บำบัด) มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง
วท.ม. (กายวิภาคศาสตร์) มหาวิทยาลัย มหิดล