1. หลักการและเหตุผล
จากสถานการณ์การแพร่ระบาด COVID-19 ที่องค์การอนามัยโลก (WHO) ยกระดับให้เป็น “ภาวะการระบาดใหญ่ทั่วโลก (Pandemic)” นั้น เหตุการณ์เกิดขึ้นตั้งแต่ช่วงเดือนธันวาคม 2562 เป็นต้นมา ส่งผลให้เศรษฐกิจ ทั่วโลกหยุดชะงัก และส่งผลกระทบต่อสังคม รวมทั้งนำมาซึ่งสิ่งที่เรียกว่าความปกติใหม่(New Normal) ที่ส่งผลให้วิถีชีวิตคนทั่วโลกแตกต่างไปจากเดิม คณะกรรมการเสริมสร้างการวิจัย มีความประสงค์ในการสร้างความตระหนักและความเข้าใจต่อสาธารณะในเรื่องที่เกี่ยวข้องกับสภาวะการเปลี่ยนแปลงของโลกหลังเกิดวิกฤตการระบาดของโรค ติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในด้านการปรับตัวของสังคม และการเปลี่ยนแปลงในรูปแบบการพลิกโฉม ของนวัตกรรมสังคมและเทคโนโลยีการจัดการสุขภาพที่มีต่อการรองรับวิกฤต ดังกล่าว
กอรปกับมหาวิทยาลัยคริสเตียน เป็นสถาบันอุดมศึกษาที่มีภารกิจหลักสำคัญของการผลิตผลงานทางวิชาการ และมีนโยบายในการส่งเสริมและสนับสนุนให้บุคลากรผลิตผลงานวิจัยและนวัตกรรมอย่างต่อเนื่อง เพื่อส่งเสริมให้เกิดการแลกเปลี่ยนผลงานทางวิชาการอันมีคุณค่า นำไปสู่การใช้ประโยชน์และการเผยแพร่อย่างกว้างขวางระหว่างนักวิจัยและนักวิชาการจากหน่วยงานภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย รวมทั้งเพื่อให้เกิดเครือข่ายความร่วมมือทางวิชาการอย่างแพร่หลาย จึงได้จัดการประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 6 หัวข้อ “พลิกโฉมนวัตกรรมสังคมและเทคโนโลยีสุขภาพในยุค Next Normal” ขึ้น เพื่อเป็นเวทีสำหรับการนำเสนอผลงานทางวิชาการที่เปิดโอกาสให้กับนักวิจัย นักวิชาการ นักศึกษา และผู้ปฏิบัติงานในหน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชนจากทั่วประเทศ ร่วมแลกเปลี่ยนประสบการณ์ อันจะนำไปสู่การสร้างเครือข่ายความร่วมมือทางวิชาการ เพื่อกระตุ้นให้เกิดการพัฒนาผลงานวิจัยและนวัตกรรมต่อไป
2. วัตถุประสงค์ของการจัด
2.1 เพื่อเป็นเวทีเผยแพร่ผลงานวิจัยในระดับชาติ ด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และมนุษย์และสังคมศาสตร์ ของคณาจารย์ นักวิจัย นักศึกษาและผู้สนใจทั่วไป
2.2 เพื่อเป็นการแลกเปลี่ยนเรียนรู้การพัฒนางานวิจัยในสาขาวิชาต่างๆ ระหว่างนักวิจัย
2.3 เพื่อสร้างเครือข่ายความร่วมมือทางวิชาการระหว่างคณาจารย์ นักวิจัยของมหาวิทยาลัยคริสเตียนกับนักวิจัยของสถาบันการศึกษาหรือหน่วยงานภายนอก
3. หน่วยงานที่รับผิดชอบ
ฝ่ายวิจัย มหาวิทยาลัยคริสเตียน
4. ระยะเวลา และสถานที่จัดประชุม
วันจันทร์ที่ 20 มิถุนายน พ.ศ. 2565 (ออนไลน์)
5. รูปแบบการดำเนินการ
5.1 บรรยายพิเศษ (Keynote Speaker)
5.2 การนำเสนอผลงานภาคบรรยาย
5.3 การนำเสนอผลงานภาคโปสเตอร์
6. สาขาการประชุมวิชาการ
6.1 สาขาวิศวกรรมศาสตร์และอุตสาหกรรมวิจัย ประกอบด้วย สาขาวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยีพื้นฐานทางวิศวกรรม วิศวกรรมชีวการแพทย์ และอื่นๆที่เกี่ยวข้อง
6.2 สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประกอบด้วย สาขาวิทยาศาสตร์สุขภาพ สาขาพยาบาลศาสตร์ สาขากายภาพบำบัด สาขาวิทยาศาสตร์การกีฬา และอื่นๆที่เกี่ยวข้อง
6.3 สาขาบริหารธุรกิจและเศรษฐศาสตร์ ประกอบด้วย การจัดการ บริหารธุรกิจ บัญชี และอื่นๆที่เกี่ยวข้อง
6.4 สาขาสังคมศาสตร์ มนุษยศาสตร์และวิจัยสถาบัน ประกอบด้วยสังคมศาสตร์ จิตวิทยาพัฒนาสังคม การท่องเที่ยว การโรงแรม และอื่นๆที่เกี่ยวข้อง
6.5 สาขาการศึกษา ปรัชญา และศาสนา ประกอบด้วย หลักสูตรและการสอน การบริหารการศึกษา การวัดและประเมินผลการศึกษา เทคโนโลยีการศึกษา แนะแนวทางการศึกษา ปรัชญา และศาสนา และอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
7. ประเภทการนำเสนอ
7.1 ภาคบรรยาย (Oral Presentation)
7.2 ภาคโปสเตอร์ (Poster Presentation)
8. อัตราค่าลงทะเบียน
ประเภทผู้เข้าร่วมประชุม | ผู้นำเสนอผลงาน ภาคบรรยาย | ผู้นำเสนอโปสเตอร์
| ผู้เข้าร่วมประชุม (ไม่นำเสนอผลงาน) | |
ปกติ (ก่อนวันที่14 พค.65) | ล่าช้า (หลังวันที่14 พค.65) | |||
นักศึกษาและบุคคลทั่วไป | 1,500 | 2,000 | 1,000 | 400 |
นักศึกษามหาวิทยาลัยคริสเตียน | 1,300 | 1,800 | 1,000 | 400 |
หมายเหตุ : ผู้ลงทะเบียนจะได้รับเกียรติบัตรออนไลน์ทางอีเมล์ ภายหลังวันจัดประชุมวิชาการ 3 วัน
9. ระยะเวลาดำเนินการ
ลงทะเบียนและส่งบทความวิจัย/บทความวิชาการ | ตั้งแต่บัดนี้ – วันเสาร์ที่ 14 พฤษภาคม 2565 |
ปิดรับบทความวิจัย/บทความวิชาการแบบปกติ | วันเสาร์ที่ 14 พฤษภาคม 2565 |
ปิดรับบทความวิจัย/บทความวิชาการแบบล่าช้า | วันศุกร์ที่ 20 พฤษภาคม 2565 |
ประกาศผลการพิจารณาครั้งสุดท้าย | วันพฤหัสบดีที่ 26 พฤษภาคม 2565 |
การประชุมวิชาการระดับชาติ | วันจันทร์ที่ 20 มิถุนายน 2565 |
ส่งบทความวิจัย/บทความวิชาการ (ฉบับแก้ไข) | วันจันทร์ที่ 21 มิถุนายน 2565 |
10. หน่วยงานเจ้าภาพร่วม
10.1 เครือข่ายวิจัยอุดมศึกษาภาคกลางตอนล่าง
10.2 มหาวิทยาลัยพายัพ
10.3 มหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล
10.4 มหาวิทยาลัยสยาม
10.5 มหาวิทยาลัยธนบุรี
10.6 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ
10.7 วิทยาลัยแสงธรรม
08.30 – 09.00 น. | ลงทะเบียน |
09.00 – 09.15 น. | กล่าวเปิดการประชุมวิชาการ โดย อธิการบดี มหาวิทยาลัยคริสเตียน กล่าวรายงานจัดงานการประชุมวิชาการ ครั้งที่ 6 ปีการศึกษา 2564 โดย ผู้ช่วยอธิการบดี ด้านวิจัย มหาวิทยาลัยคริสเตียน |
09.15 – 10.30 น. | การบรรยายพิเศษ “พลิกโฉมนวัตกรรมสังคมและเทคโนโลยีสุขภาพในยุคNext Normal” โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. เขมฤทัย ถามะพัฒน์ รองคณบดี ฝ่ายวิจัยและนวัตกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี |
10.30 -10.45 น. | ช่วงพัก |
10.45 – 12.00 น. | นำเสนอผลงานแบบโปสเตอร์ โดย เจ้าของผลงาน |
12.00 – 13.00 น. | รับประทานอาหารกลางวัน |
13.00 – 14.45 น. | นำเสนอผลงานวิจัย ช่วงที่ 1 |
14.45 – 15.00 น. | ช่วงพัก |
15.00 – 16.00 น. | นำเสนอผลงานวิจัย ช่วงที่ 2 |
16.00 – 16.20 น. | สรุปการนำเสนอผลงานวิชาการในแต่ละกลุ่ม |
16.20 – 16.30 น. | ปิดการประชุมวิชาการ |
หมายเหตุ : กำหนดการอาจเปลี่ยนแปลงได้ตามความเหมาะสม
ผู้สมัครต้องเตรียมบัญชี Gmail และ Login เพื่อใช้ในการสมัคร โดยลงทะเบียนเข้าประชุมทาง Google Form
(https://forms.gle/ReJyP6JSrj6XrjPC8) และชำระเงินตามอัตราค่าลงทะเบียนที่กำหนด พร้อมทั้ง up load สลิป การชำระเงินค่าลงทะเบียน และส่งผลงานที่นำเสนอที่ email : research@christian.ac.th
การเตรียมผลงานวิชาการต้นฉบับ
การเตรียมต้นฉบับเพื่อพิจารณาคุณภาพและจัดทำรายงานสืบเนื่องการประชุม (Proceedings) ทั้งการนำเสนอผลงานแบบบรรยาย (Oral Presentation) และการนำเสนอแบบโปสเตอร์ (Poster Presentation) ต้องมีเนื้อเรื่องสมบูรณ์ครบถ้วน (Full Paper) ตามหัวข้อในฉบับ ตัวอักษรชนิด TH Sarabun PSK ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ระยะห่างระหว่างบรรทัด กำหนดให้เป็น 1.0 พิมพ์ต้นฉบับด้วยกระดาษขนาด A4 หัวข้อหลักตัวอักษรขนาด 16 ตัวหนา หัวข้อรองและเนื้อหา ตัวอักษรขนาด 14 ตั้งค่าหน้ากระดาษขอบบน (top) 1.5 นิ้ว ขอบล่าง (bottom) 1 นิ้ว ขอบซ้าย (left) 1.5 นิ้ว ขอบขวา (right) 1 นิ้ว รวมบรรณานุกรมแล้ว มีความยาวไม่เกิน 12 หน้า (ใส่เลขหน้าทุกหน้า) ซึ่งประกอบด้วยหัวข้อต่อไปนี้
ไว้ที่เชิงอรรถด้านล่างหน้าแรก (ตัวอักษรขนาด 14)
และควรกล่าวถึงวัตถุประสงค์ กลุ่มตัวอย่าง ชนิดของเครื่องมือ คุณภาพของเครื่องมือ สถิติวิเคราะห์ข้อมูล ข้อค้นพบที่สอดคล้องตามวัตถุประสงค์ และแนวทางการนำผลการวิจัยไปใช้ประโยชน์ความยาวไม่เกิน 300 คำ
มีการอ้างอิงเนื้อหาสนับสนุนความสำคัญ และเชื่อมโยงให้สอดคล้องกับสัมพันธ์กับวัตถุประสงค์ของการวิจัย และไม่ควรใส่ตารางหรือรูปภาพ
(กรณีวิจัยเชิงทดลอง) เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูล การตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือ การเก็บรวบรวมข้อมูล (อธิบายขั้นตอนการดำเนินการวิจัย) และสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล
แนวปฏิบัติสำหรับการนำเสนอผลงานแบบบรรยาย
ก่อนวันประชุม (Online)
1. ให้ผู้นำเสนอจัดทำไฟล์การนำเสนอในรูปแบบสไลด์ด้วยโปรแกรม MS PowerPoint (*.pptx)
2. สไลด์แรกควรเป็นชื่อเรื่องและชื่อผู้นำเสนอ
3. เนื้อหาควรทำเป็นหัวข้อเพื่อการบรรยาย ไม่ควรทำเป็นเนื้อหาละเอียดเนื่องจากเป็นการนำเสนอผลงานแบบบรรยาย ใช้เวลาเรื่องละไม่เกิน 10 นาที การวิพากษ์ผลงานจะมีผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 2 ท่าน ประจำแต่ละห้อง ใช้เวลาซักถาม และตอบคำถาม 5 นาที รวมทั้งหมดเป็น 15 นาที
4. เนื้อหาในการนำเสนอผลงานควรครอบคลุมประเด็นหลัก ๆ ดังนี้
4.1 ที่มาและปัญหาการวิจัย
4.2 วัตถุประสงค์
4.3 วิธีการวิจัย
4.4 ผลการวิจัย
4.5 ประโยชน์ในการนำผลการวิจัยไปใช้ เช่น ต่อตนเอง สังคม ประชาชาติ เป็นต้น
5. เทคนิคการนำเสนอในเวลา 10 นาที
5.1 ใช้ภาษาที่เข้าใจง่าย หลีกเลี่ยงการใช้คำเชิงวิชาการที่มากเกินไป
5.2 ใช้ภาษาพูดหรือเล่าเรื่องแทนการอ่านสไลด์ สื่อสารกับผู้ฟังผ่านจอมากกว่าการอ่านให้ฟัง
5.3 ให้คิดว่ากำลังอธิบายผลงานของเราให้เพื่อน ๆ หรือผู้สนใจจากสาขาวิชาอื่นฟัง
6. จัดส่งไฟล์นำเสนอซึ่งบันทึกในรูปแบบของ Portable Document Format (*.pdf) มายังผู้ประสานงานที่ Google Form ภายในวันที่ 10 มิถุนายน พ.ศ. 2565
7. ซ้อมการนำเสนอผ่านระบบออนไลน์ วันเสาร์ที่ 18 มิถุนายน พ.ศ. 2565 เวลา 09.00 น.
8. ตรวจสอบกำหนดการประชุมผ่านเว็บไซต์ มหาวิทยาลัยคริสเตียน www.christian.ac.th
วันประชุม (Online)
1. ตรวจสอบรายชื่อ รหัสการนำเสนอ ห้องนำเสนอ หากไม่พบรายชื่อผลงานของท่านโปรดแจ้งผู้ประสานงานทางอีเมล
2. การนำเสนอจะถูกกำหนดเวลาและเปิดรับผู้นำเสนอทุกท่านโดยใช้ Ms-Teams
3. เข้าร่วมการประชุมทางวิดีโอด้วยลิงค์การประชุม ที่ฝ่ายจัดโครงการส่งไปให้
4. ผู้นำเสนอแต่ละท่านต้องอยู่ในห้องตลอดการประชุม ใช้เวลาในการนำเสนอเรื่องละไม่เกิน 10 นาที การวิพากษ์งานวิจัยจะมีผู้ทรงคุณวุฒิ 2 ท่านประจำแต่ละห้องเพื่อวิพากษ์ผลงาน ใช้เวลาในการวิพากษ์รวมทุกท่านไม่เกิน 5 นาที รวมทั้งหมดเป็น 15 นาที
แนวปฏิบัติสำหรับการนำเสนอผลงานแบบโปสเตอร์
ก่อนวันประชุม (Online)
1. ดาวน์โหลด Template Poster ตามที่ฝ่ายจัดประชุมวิชาการกำหนดหน้าเว็บไซด์ มหาวิทยาลัยคริสเตียน www.christian.ac.th
2. จัดทำไฟล์ e-Poster ด้วยโปรแกรม Adobe Illustrator (*.ai) หรือ MS PowerPoint (*.pptx) 1 Template ต่อ 1 เรื่อง กำหนดไฟล์ภาพขนาดความกว้าง 75 เซนติเมตร ความสูง 115 เซนติเมตร (แนวตั้ง Vertical Poster) โดยจัดทำเป็นภาษาไทยหรือภาษาอังกฤษ เนื้อหาใน e-Poster ประกอบไปด้วย บทคัดย่อ บทนำ วัตถุประสงค์ วิธีการวิจัย ผลการวิจัยและอภิปรายผล สรุป ข้อเสนอแนะ อ้างอิง และชื่อผู้วิจัยพร้อม email
3. สรุปสิ่งที่นำเสนอในรูปแบบของไฟล์เอกสาร MS word (*.docx) ได้ทั้งภาษาไทยหรือภาษาอังกฤษ ไม่เกินครึ่งหน้ากระดาษ A4
4. จัดส่งไฟล์ ภายในวันที่ 10 มิถุนายน 2565 ผ่าน Google Form โดยดำเนินการดังนี้
– ไฟล์ e-Poster บันทึกในรูปแบบของ Portable Document Format (*.pdf)
– ไฟล์บันทึกวิดิโอนำเสนอผลงาน (*.mp4)
– ไฟล์ภาพถ่ายหน้าตรงของผู้นำเสนอ (*.jpg)
5. ซ้อมการนำเสนอผ่านระบบออนไลน์ วันเสาร์ที่ 18 มิถุนายน พ.ศ. 2565 เวลา 09.00 น.
วันประชุม
เข้าเว็บไซต์งานประชุมวิชาการ ตามลิ้งค์ที่ฝ่ายจัดโครงการส่งไปให้ และตรวจสอบกำหนดการการประชุม
ผู้นำเสนอแบบ Online ตอบข้อซักถามผู้ที่สนใจ ผ่านช่องทางการติดต่อของผู้นำเสนอที่ให้ไว้
“มหาวิทยาลัยคริสเตียนมุ่งผลิตบัณฑิตที่มีคุณภาพ มีจริยธรรมและคุณธรรม ในการเสริมสร้างคุณค่าให้กับองค์กร ชุมชน และสังคม ด้วยนวัตกรรมและระบบนิเวศ เพื่อสร้างความได้เปรียบเชิงการแข่งขันให้กับองค์กร และประเทศ”
ชื่อ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ศศิธร รุจนเวช
วุฒิการศึกษา
ความเชี่ยวชาญ
ผลงานวิชาการที่เผยแพร่
รางวัลที่ได้รับ
ชื่อ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ทิพา ต่อสกุลแก้ว
วุฒิการศึกษา
ความเชี่ยวชาญ
ผลงานวิชาการที่เผยแพร่
ชื่อ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ศากุล ช่างไม้
วุฒิการศึกษา
ผลงานวิชาการที่เผยแพร่
ชื่อ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ พันเอกหญิง ดร.นงพิมล นิมิตรอานันท์
วุฒิการศึกษา
ความเชี่ยวชาญ
ผลงานวิชาการที่เผยแพร่
ปีการศึกษา 2561
1) นงพิมล นิมิตรอานันท์ ศศิธร รุจนเวช และ จุฑารัตน์ ผู้พิทักษ์กุล. (2562). รูปแบบการสื่อสารความเสี่ยงทางสุขภาพโรคหลอดเลือดสมองตามมิติวัฒนธรรมของกลุ่มชาติพันธุ์ไทยทรงดำ: กรณีศึกษาชุมชนสะแกราย จังหวัดนครปฐม. วารสารคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา, 27(2) (เมษายน–มิถุนายน),80-92.
2) อุษา ตันทพงษ์ นงพิมล นิมิตรอานันท์ และ ศศิธร รุจนเวช. (2562). ปัจจัยคัดสรรที่มีผลต่อพฤติกรรมการป้องกันโรคข้อเข่าเสื่อมชนิดปฐมภูมิของครูในจังหวัดนครปฐม. วารสารพยาบาลทหารบก, 20(2) (พฤษภาคม-สิงหาคม),316-326.
วิทยานิพนธ์
3) ภาวินี กุลษรเวทย์ สุธีรา ฮุ่นตระกูล และ นงพิมล นิมิตรอานันท์. (2561). ผลของโปรแกรมการเสริมพลังในการป้องกันโรคข้อเข่าเสื่อมชนิดปฐมภูมิในอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านที่มีภาวะเสี่ยงโรคข้อเข่าเสื่อมที่ชุมชนแห่งหนึ่งในจังหวัดเพชรบุรี. วารสารแพทย์นาวี,45(3),578-598.[TCIกลุ่ม 1]
4) ดุจนฤภา ภาคปิยวัชร์ สุธีรา ฮุ่นตระกูล และ นงพิมล นิมิตรอานันท์. (2561). ผลของโปรแกรมการจัดการตนเองด้านการใช้ยาอย่างเคร่งครัดในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมไม่ได้ที่คลินิกเอกชนแห่งหนึ่งในจังหวัดปทุมธานี. วารสารแพทย์นาวี, 45(2), 377-398. [TCI กลุ่ม 1]
5) สุพัตรา เชาว์ไวย นงพิมล นิมิตรอานันท์ และ ศศิธร รุจนเวช. (2562). ผลของโปรแกรมการสร้างเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพในผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 รายใหม่ในชุมชน. วารสารโรงพยาบาลชลบุรี, 44(1), 25-34. [TCI กลุ่ม 1]
6) วิราพร สืบสุนทร นงพิมล นิมิตรอานันท์ และ ศศิธร รุจนเวช. (2562). ผลของโปรแกรมการส่งเสริมสมรรถนะของตนต่อพฤติกรรมการป้องกันการหกล้ม และสมรรถนะทางกายของผู้สูงอายุในชุมชน. วารสารโรงพยาบาลชลบุรี, 44(2), 119-129. [TCI กลุ่ม 1]
ปีการศึกษา 2562
7) นงพิมล นิมิตรอานันท์ วิชุดา กลิ่นหอม และ ฐิติมา หมอทรัพย์. (2563). การเสริมพลังชุมชน: มโนทัศน์และการประยุกต์ในการปฏิบัติการพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชน. วารสารการพยาบาลและสุขภาพ,14(1), (มกราคม-เมษายน) 13–23.
8)นงพิมล นิมิตรอานันท์ วิชุดา กลิ่นหอม เจือจันทร์ วัฒกีเจริญ และ ชลทิพย์ ทิพย์แก้ว. (2563). การพัฒนารูปแบบการป้องกันการหกล้มของผู้สูงอายุแบบมีส่วนร่วมของชุมชน. วารสารพยาบาลทหารบก, 21(2) พฤษภาคม-สิงหาคม,389-399.
วิทยานิพนธ์
9) กัญญาภัทธ ปราบริปู, ศศิธร รุจนเวช และ นงพิมล นิมิตรอานันท์. (2563). ผลของโปรแกรมการจัดการอาการต่อความรุนแรงของโรคและพฤติกรรมการดูแลตนเองของผู้สูงอายุกลุ่มเสี่ยงโรคข้อเข้าเสื่อมชนิดปฐมภูมิ. วารสารการพยาบาลและสุขภาพ. 14(1), 1-13, (มกราคม–เมษายน 2563). (TCI 2)
ปีการศึกษา 2563
10) นงพิมล นิมิตรอานันท์ สุพัตรา เชาว์ไวย และ วิราพร สืบสุนทร. (2563). การออกกำลังกายแบบก้าวตามตารางเพื่อป้องกันการหกล้มของผู้สูงอายุในชุมชน: การวิเคราะห์วรรณกรรม. วารสารแพทย์นาวี, 48(1),23-36. มกราคม-เมษายน. [TCI กลุ่ม 1]
รางวัลที่ได้รับ
อาจารย์ รุ่งแก้ว พุ่มโพธิ์
วุฒิการศึกษา
1. M.B.A. (Doubled Majors in International Business and Operations and Supply Chain Management), University of Wisconsin – Whitewater, USA
2. ศศ.บ. (ภาษาและวัฒนธรรมเพื่อการสื่อสารและการพัฒนา) สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย มหาวิทยาลัยมหิดล
3. บธ.บ. (การจัดการธุรกิจระหว่างประเทศ) มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ
อาจารย์ พันตำรวจเอกหญิง ดร.กิตติยา ชัชวาลชาญชนกิจ
วุฒิการศึกษา
1. ปร.ด.(การจัดการ) มหาวิทยาลัยสยาม
2. บธ.ม.(การจัดการ) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
3. พย.บ. วิทยาลัยพยาบาลตำรวจ
อาจารย์ สุพาพร ศิริผึ้ง
วุฒิการศึกษา
1. บธ.ม. (การจัดการทั่วไป) มหาวิทยาลัยรามคำแหง
2. บริหารธุรกิจบัณฑิต (อุตสาหกรรมการบริการ)มหาวิทยาลัยรามคำแหง
อาจารย์ เสาวลักษณ์ นัทธีศรี
วุฒิการศึกษา
1. กจ.ม. (การบริหารรัฐกิจ) มหาวิทยาลัยคริสเตียน
2. ศศ.บ. (การพัฒนาชุมชน) มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
อาจารย์ ดร.ธฤษณุวัชร ไชยโคตร
วท.บ.(กายภาพบำบัด) มหาวิทยาลัยมหิดล
วท.ม.(เวชศาสตร์การกีฬา) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Ph.D(Sport and Exercise Medicine) University of Essex, UK
วท.บ.(กายภาพบำบัด) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
วท.ม.(กายวิภาคศาสตร์) มหาวิทยาลัยมหิดล
ปร.ด.(สรีรวิทยาการแพทย์) มหาวิทยาลัยมหิดล
วท.บ.(กายภาพบำบัด) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
วท.ม. (เวชศาสตร์การกีฬา) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
วท.บ.(กายภาพบำบัด) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
วท.ม. (สุขภาพจิต) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
วท.บ.(กายภาพบำบัด) มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ
วท.ม. (วิศวกรรมทางการแพทย์) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
วท.บ.(กายภาพบำบัด) มหาวิทยาลัยขอนแก่น
วท.ม. (กายภาพบำบัด) มหาวิทยาลัยขอนแก่น
วท.บ.(กายภาพบำบัด) มหาวิทยาลัยมหิดล
วท.ม.(กายภาพบำบัด) มหาวิทยาลัยมหิดล
วท.บ.(กายภาพบำบัด) มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ
ปร.ด.(ประสาทวิทยาศาสตร์) มหาวิทยาลัยขอนแก่น
วท.บ.(กายภาพบำบัด) มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
วท.ม. (สรีรวิทยา) มหาวิทยาลัยมหิดล
วท.บ.(กายภาพบำบัด) มหาวิทยาลัยขอนแก่น
วท.ม. (กายภาพบำบัด) มหาวิทยาลัยขอนแก่น
วท.บ. (วิทยาศาสตร์การออกกำลังกายและการกีฬา) มหาวิทยาลัยบูรพา
วท.ม. (วิทยาศาสตร์การกีฬาและสุขภาพ) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
วท.บ.(กายภาพบำบัด) มหาวิทยาลัยมหิดล
วท.ม. (กายวิภาคศาสตร์) มหาวิทยาลัยมหิดล
วท.บ.(กายภาพบำบัด) มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
วท.ม. (กายภาพบำบัด) มหาวิทยาลัยมหิดล
อส.บ.(วิศวกรรมไฟฟ้า) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
วท.ม.(อุปกรณ์การแพทย์) มหาวิทยาลัยพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
วท.บ. (ฟิสิกส์) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
วศ.ม. (วิศวกรรมไฟฟ้าและสารสนเทศ) (หลักสูตรนานาชาติ) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
ปร.ด. (วิศวกรรม ไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์) (หลักสูตรนานาชาติ) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
วศ.บ. (วิศวกรรม-อุตสาหกรรม) มหาวิทยาลัย ขอนแก่น
วศ.ม. (วิศวกรรม ชีวการแพทย์) มหาวิทยาลัยมหิดล
วท.บ. (เทคนิคการแพทย์) มหาวิทยาลัยมหิดล
วท.ม. (อายุรศาสตร์เขตร้อน) มหาวิทยาลัยมหิดล
วท.บ. (ฟิสิกส์) มหาวิทยาลัยทักษิณ
วท.ม. (การสอนฟิสิกส์) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
Ph.D. (Science and Technology Education) มหาวิทยาลัยมหิดล
วท.บ. (ชีววิทยา) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
วท.ม. (ปรสิตวิทยาทางการแพทย์) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
วศ.บ.(วิศวกรรม เครื่องกล) มหาวิทยาลัยศิลปากร
วศ.ม.(การจัดการงานวิศวกรรม) มหาวิทยาลัยศิลปากร
วท.บ (ฟิสิกส์) (เกียรตินิยมอันดับ 2) มหาวิทยาลัยศิลปากร
วท.ม (ฟิสิกส์) มหาวิทยาลัยศิลปากร
ปร.ด. (ฟิสิกส์) มหาวิทยาลัยศิลปากร
วท.บ. (เทคโนโลยีอาหาร) มหาวิทยาลัยรามคำแหง
วท.ม. (วิทยาศาสตร์การอาหาร) สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
วท.บ. (วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร) (เกียรตินิยมอันดับสอง) มหาวิทยาลัย เชียงใหม่
M.Sc. (Food Engineering and Bioprocess Technology) Asian Institute of Technology
วท.บ. (ชีวเคมี) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
วท.ม. (ชีวเคมี) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
วท.บ. (เทคโนโลยีอาหาร) (เกียรตินิยมอันดับ 2) มหาวิทยาลัยศิลปากร
วท.ม. (เทคโนโลยีอาหาร) มหาวิทยาลัยศิลปากร
Ph.D. (Food Technology) มหาวิทยาลัยศิลปากร
กศ.บ. (วิทยาศาสตร์เคมี) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
วท.ม. (ชีวเคมี) มหาวิทยาลัย ขอนแก่น
ศษ.บ. ( สาขาเคมี) มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์
ศศ.ม.(ศึกษาศาสตร์-การสอน) มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์
พทป.บ.(แพทย์แผนไทยประยุกต์) มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง
วท.ม. (กายวิภาคศาสตร์) มหาวิทยาลัยมหิดล
วท.บ. (วิทยาศาสตร์การแพทย์) มหาวิทยาลัยนเรศวร
วท.ม. (กายวิภาคศาสตร์) มหาวิทยาลัยมหิดล
ศศ.บ. (การสื่อสารมวลชนทางการกีฬา) มหาวิทยาลัยบูรพา
วท.ม. (วิทยาศาสตร์การกีฬาและสุขภาพ) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
กภ.บ. (กายภาพ บำบัด) มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง
วท.ม. (กายวิภาคศาสตร์) มหาวิทยาลัย มหิดล