ความหมายของตราสัญลักษณ์ ประกอบด้วย
คณะสหวิทยาการ มหาวิทยาลัยคริสเตียนมุ่งผลิตบัณฑิตที่มีคุณภาพ รักบริการ มีทักษะการเป็นผู้ประกอบการ มีจริยธรรมและคุณธรรม สร้างคุณค่าให้กับองค์กร ชุมชน และสังคม ด้วยนวัตกรรมและระบบนิเวศ เพื่อความเป็นพลเมืองที่ดีของประเทศ
คณะสหวิทยาการ มหาวิทยาลัยคริสเตียน มีความเชื่อ และความศรัทธาในองค์พระผู้เป็นเจ้า ซึ่งทรงสอนให้มนุษย์รักและบริการซึ่งกันและกัน เพื่อให้เกิดความสมดุล ความมั่นคง ความมั่งคั่ง และความยั่งยืนอันนำไปสู่สันติสุขของมวลมนุษย์
คณะสหวิทยาการ เชื่อในการเรียนรู้เชิงรุก ได้แก่ การเรียนรู้อย่างมีเป้าหมาย (Purposeful Learning) การเรียนรู้อย่างสร้างสรรค์(Generative Learning) การเรียนรู้เพื่อส่วนรวม(Mindful Learning) และการเรียนรู้เพื่อการนำไปปฏิบัติได้(Result-Based Learning)ที่มีมาตรฐานและคุณภาพระดับชาติ และนานาชาติ และเชื่อในการผลิตผลงานวิชาการ และการทำวิจัยอย่างสร้างสรรค์และมีนวัตกรรมรวมทั้งเชื่อในการให้บริการวิชาการอย่างสร้างสรรค์และมีนวัตกรรมแก่ชุมชนเป้าหมายองค์กรและสังคม ตลอดจนการมีส่วนร่วมในการฟื้นฟู อนุรักษ์ สืบสาน พัฒนา และเผยแพร่ศิลปะและวัฒนธรรม ด้วยการส่งเสริมและสร้างสรรค์ภูมิปัญญาท้องถิ่นให้เป็นรากฐานของการพัฒนาองค์ความรู้ด้านศิลปะและวัฒนธรรม รวมทั้งการฟื้นฟู อนุรักษ์ และพัฒนาการใช้ประโยชน์และการอยู่ร่วมกับทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างเกื้อกูล เหมาะสม และเป็นธรรม บนพื้นฐานปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และธรรมาภิบาล เพื่อการเป็นมหาวิทยาลัยส่งเสริมสุขภาพ
คณะสหวิทยาการ จึงยึดมั่นใน“รักและบริการ”ที่เป็นเลิศ ในการผลิตบัณฑิตให้มีคุณภาพระดับนานาชาติ มีจริยธรรมและคุณธรรมตามหลักคำสอนของคริสตศาสนา มีทักษะการสื่อสารภาษาไทยและภาษาอังกฤษได้อย่างมีประสิทธิผล มีสมรรถนะการผลิต/การใช้เทคโนโลยีดิจิทัลได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล มีทักษะทางวิชาการ มีทักษะทางวิชาชีพ มีทักษะการทำวิจัยอย่างสร้างสรรค์และมีนวัตกรรมมีความรับผิดชอบ มีวินัย มีทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ด้วยตนเองตลอดชีวิต บนพื้นฐานความรู้ ความคิดสร้างสรรค์ และภูมิปัญญาไทยมีสมรรถนะการบริหารจัดการที่คำนึงถึงระบบนิเวศ และมีสมรรถนะการประกอบอาชีพอิสระ/การประกอบการอิสระ มีจิตสำนึกในการให้บริการที่เป็นเลิศ รวมทั้งมีสุขภาวะแบบองค์รวม มีการดำรงชีวิตอย่างพอเพียง ตลอดจน เทิดทูนชาติ ศาสนา และสถาบันพระมหากษัตริย์ เพื่อการเป็นพลเมืองโลกที่มีคุณค่า และเสริมสร้างความได้เปรียบเชิงการแข่งขันให้กับองค์กร และประเทศในประชาคมโลก
คณะสหวิทยาการ มหาวิทยาลัยคริสเตียน มีวัตถุประสงค์ในการดำเนินพันธกิจหลักของการอุดมศึกษา ดังต่อไปนี้
อัตลักษณ์ของบัณฑิตคณะสหวิทยาการ หมายถึง คุณลักษณะเด่นของบัณฑิตซึ่งเป็นผลผลิตของคณะสหวิทยาการ มหาวิทยาลัยคริสเตียน ตามวิสัยทัศน์ ปรัชญา และวัตถุประสงค์ของคณะสหวิทยาการ มหาวิทยาลัยคริสเตียน เพื่อให้มีคุณลักษณะ “นักปฏิบัติวิชาชีพที่มีใจรักในการให้บริการ มีทักษะการบริหารจัดการอย่างสร้างสรรค์และมีนวัตกรรม”
เอกลักษณ์ของคณะสหวิทยาการ หมายถึง ผลสำเร็จของการบริหารจัดการ และการดำเนินงานที่มีลักษณะเฉพาะ
และโดดเด่นของนักศึกษาและบุคลากร สังกัดคณะสหวิทยาการ ดังนี้
5.1 การมีวัฒนธรรมการให้บริการที่เป็นเลิศในด้านบริการท่องเที่ยว การบัญชี ดิจิทัลมีเดีย การบริการสุขภาพ
และการบริหารจัดการ
5.2 การเป็นคณะวิชาที่บูรณาการศาสตร์ด้านสุขภาพ เพื่อให้เกิดสุขภาวะที่ดี
มาตรการส่งเสริมชุมชนและสังคมของคณะสหวิทยาการ หมายถึง แนวทางการพัฒนาชุมชนและสังคมให้เกิดผล
อย่างยั่งยืน ด้วยการชี้นำ ป้องกัน และแก้ไขปัญหาของชุมชนและสังคม ดังนี้
6.1 การเทิดทูนชาติ ศาสนา และสถาบันพระมหากษัตริย์
6.2 การนำปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการบริหารจัดการการเรียนการสอนและการดำรงชีวิตของบุคลากร นักศึกษา และประชาชนทั่วไป
7. คุณค่าร่วมในคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของนักศึกษาและบุคลากรสังกัดคณะสหวิทยาการ
7.1 รัก และ สามัคคี (Love and Unity)
7.2 อาสา และ ช่วยเหลือ (Volunteer and Helpfulness)
7.3 กล้าหาญ และ เสียสละ (Courage and Sacrifice)
7.4 อดทน และ อดกลั้น (Endurance and Restraint)
7.5 ซื่อสัตย์ และ สุจริต (Faithfulness and Honesty)
7.6 ให้อภัย และ ใจสุภาพ (Forgiveness and Politeness)
7.7 สร้างสันติ และ การปรองดอง (Peace making and Reconciliation)
7.8 ใส่ใจ และ ใฝ่รู้ (Concentration and Inquisitiveness)
7.9 คิดอย่างสร้างสรรค์ และมีนวัตกรรม (Creative thinking and Innovation)
7.10 มีเป้าหมาย และ มุ่งความสำเร็จ (Goal-Orientation and Toward Success)
8.1 บริการด้วยรอยยิ้ม (Serve with a smile)
8.2 บริการด้วยท่าทีกระตือรือร้น (Serve enthusiastically)
8.3 บริการมากกว่าเดิม (Serve more than before)
8.4 บริการอย่างสัตย์ซื่อ (Serve with honesty)
8.5 บริการผู้ใช้บริการก่อนทำงานประจำ (Serve client before doing routine work)
8.6 บริการด้วยความรู้สึกเป็นเจ้าของ (Serve with a sense of ownership)
8.7 บริการด้วยหัวใจ (Serve from the heart)
8.8 บริการอย่างมีนวัตกรรม (Serve innovatively)
8.9 บริการเป็นทีม (Serve on a team)
8.10 บริการอย่างมีวินัย (Serve with discipline)
8.11 บริการเพื่อส่วนรวม (Serve with mindfulness)
8.12 บริการให้นักศึกษา/ผู้ใช้บริการเกิดความประทับใจ (Serve to delight the student/client)
ต้นกัลปพฤกษ์ ชื่อทางวิทยาศาสตร์ : Cassia bakeriana Craib หมายถึง การประสบความสำเร็จตามปรารถนา และชัยชนะที่ยิ่งใหญ่
วท.บ. (ฟิสิกส์) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
วศ.ม. (วิศวกรรมไฟฟ้าและสารสนเทศ) (หลักสูตรนานาชาติ) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
ปร.ด. (วิศวกรรม ไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์) (หลักสูตรนานาชาติ) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
ชื่อ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ศศิธร รุจนเวช
วุฒิการศึกษา
ความเชี่ยวชาญ
ผลงานวิชาการที่เผยแพร่
รางวัลที่ได้รับ
ชื่อ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ทิพา ต่อสกุลแก้ว
วุฒิการศึกษา
ความเชี่ยวชาญ
ผลงานวิชาการที่เผยแพร่
ชื่อ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ศากุล ช่างไม้
วุฒิการศึกษา
ผลงานวิชาการที่เผยแพร่
ชื่อ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ พันเอกหญิง ดร.นงพิมล นิมิตรอานันท์
วุฒิการศึกษา
ความเชี่ยวชาญ
ผลงานวิชาการที่เผยแพร่
ปีการศึกษา 2561
1) นงพิมล นิมิตรอานันท์ ศศิธร รุจนเวช และ จุฑารัตน์ ผู้พิทักษ์กุล. (2562). รูปแบบการสื่อสารความเสี่ยงทางสุขภาพโรคหลอดเลือดสมองตามมิติวัฒนธรรมของกลุ่มชาติพันธุ์ไทยทรงดำ: กรณีศึกษาชุมชนสะแกราย จังหวัดนครปฐม. วารสารคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา, 27(2) (เมษายน–มิถุนายน),80-92.
2) อุษา ตันทพงษ์ นงพิมล นิมิตรอานันท์ และ ศศิธร รุจนเวช. (2562). ปัจจัยคัดสรรที่มีผลต่อพฤติกรรมการป้องกันโรคข้อเข่าเสื่อมชนิดปฐมภูมิของครูในจังหวัดนครปฐม. วารสารพยาบาลทหารบก, 20(2) (พฤษภาคม-สิงหาคม),316-326.
วิทยานิพนธ์
3) ภาวินี กุลษรเวทย์ สุธีรา ฮุ่นตระกูล และ นงพิมล นิมิตรอานันท์. (2561). ผลของโปรแกรมการเสริมพลังในการป้องกันโรคข้อเข่าเสื่อมชนิดปฐมภูมิในอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านที่มีภาวะเสี่ยงโรคข้อเข่าเสื่อมที่ชุมชนแห่งหนึ่งในจังหวัดเพชรบุรี. วารสารแพทย์นาวี,45(3),578-598.[TCIกลุ่ม 1]
4) ดุจนฤภา ภาคปิยวัชร์ สุธีรา ฮุ่นตระกูล และ นงพิมล นิมิตรอานันท์. (2561). ผลของโปรแกรมการจัดการตนเองด้านการใช้ยาอย่างเคร่งครัดในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมไม่ได้ที่คลินิกเอกชนแห่งหนึ่งในจังหวัดปทุมธานี. วารสารแพทย์นาวี, 45(2), 377-398. [TCI กลุ่ม 1]
5) สุพัตรา เชาว์ไวย นงพิมล นิมิตรอานันท์ และ ศศิธร รุจนเวช. (2562). ผลของโปรแกรมการสร้างเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพในผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 รายใหม่ในชุมชน. วารสารโรงพยาบาลชลบุรี, 44(1), 25-34. [TCI กลุ่ม 1]
6) วิราพร สืบสุนทร นงพิมล นิมิตรอานันท์ และ ศศิธร รุจนเวช. (2562). ผลของโปรแกรมการส่งเสริมสมรรถนะของตนต่อพฤติกรรมการป้องกันการหกล้ม และสมรรถนะทางกายของผู้สูงอายุในชุมชน. วารสารโรงพยาบาลชลบุรี, 44(2), 119-129. [TCI กลุ่ม 1]
ปีการศึกษา 2562
7) นงพิมล นิมิตรอานันท์ วิชุดา กลิ่นหอม และ ฐิติมา หมอทรัพย์. (2563). การเสริมพลังชุมชน: มโนทัศน์และการประยุกต์ในการปฏิบัติการพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชน. วารสารการพยาบาลและสุขภาพ,14(1), (มกราคม-เมษายน) 13–23.
8)นงพิมล นิมิตรอานันท์ วิชุดา กลิ่นหอม เจือจันทร์ วัฒกีเจริญ และ ชลทิพย์ ทิพย์แก้ว. (2563). การพัฒนารูปแบบการป้องกันการหกล้มของผู้สูงอายุแบบมีส่วนร่วมของชุมชน. วารสารพยาบาลทหารบก, 21(2) พฤษภาคม-สิงหาคม,389-399.
วิทยานิพนธ์
9) กัญญาภัทธ ปราบริปู, ศศิธร รุจนเวช และ นงพิมล นิมิตรอานันท์. (2563). ผลของโปรแกรมการจัดการอาการต่อความรุนแรงของโรคและพฤติกรรมการดูแลตนเองของผู้สูงอายุกลุ่มเสี่ยงโรคข้อเข้าเสื่อมชนิดปฐมภูมิ. วารสารการพยาบาลและสุขภาพ. 14(1), 1-13, (มกราคม–เมษายน 2563). (TCI 2)
ปีการศึกษา 2563
10) นงพิมล นิมิตรอานันท์ สุพัตรา เชาว์ไวย และ วิราพร สืบสุนทร. (2563). การออกกำลังกายแบบก้าวตามตารางเพื่อป้องกันการหกล้มของผู้สูงอายุในชุมชน: การวิเคราะห์วรรณกรรม. วารสารแพทย์นาวี, 48(1),23-36. มกราคม-เมษายน. [TCI กลุ่ม 1]
รางวัลที่ได้รับ
อาจารย์ รุ่งแก้ว พุ่มโพธิ์
วุฒิการศึกษา
1. M.B.A. (Doubled Majors in International Business and Operations and Supply Chain Management), University of Wisconsin – Whitewater, USA
2. ศศ.บ. (ภาษาและวัฒนธรรมเพื่อการสื่อสารและการพัฒนา) สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย มหาวิทยาลัยมหิดล
3. บธ.บ. (การจัดการธุรกิจระหว่างประเทศ) มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ
อาจารย์ พันตำรวจเอกหญิง ดร.กิตติยา ชัชวาลชาญชนกิจ
วุฒิการศึกษา
1. ปร.ด.(การจัดการ) มหาวิทยาลัยสยาม
2. บธ.ม.(การจัดการ) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
3. พย.บ. วิทยาลัยพยาบาลตำรวจ
อาจารย์ สุพาพร ศิริผึ้ง
วุฒิการศึกษา
1. บธ.ม. (การจัดการทั่วไป) มหาวิทยาลัยรามคำแหง
2. บริหารธุรกิจบัณฑิต (อุตสาหกรรมการบริการ)มหาวิทยาลัยรามคำแหง
อาจารย์ เสาวลักษณ์ นัทธีศรี
วุฒิการศึกษา
1. กจ.ม. (การบริหารรัฐกิจ) มหาวิทยาลัยคริสเตียน
2. ศศ.บ. (การพัฒนาชุมชน) มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
อาจารย์ ดร.ธฤษณุวัชร ไชยโคตร
วท.บ.(กายภาพบำบัด) มหาวิทยาลัยมหิดล
วท.ม.(เวชศาสตร์การกีฬา) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Ph.D(Sport and Exercise Medicine) University of Essex, UK
วท.บ.(กายภาพบำบัด) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
วท.ม.(กายวิภาคศาสตร์) มหาวิทยาลัยมหิดล
ปร.ด.(สรีรวิทยาการแพทย์) มหาวิทยาลัยมหิดล
วท.บ.(กายภาพบำบัด) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
วท.ม. (สุขภาพจิต) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
วท.บ.(กายภาพบำบัด) มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ
วท.ม. (วิศวกรรมทางการแพทย์) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
วท.บ.(กายภาพบำบัด) มหาวิทยาลัยขอนแก่น
วท.ม. (กายภาพบำบัด) มหาวิทยาลัยขอนแก่น
วท.บ.(กายภาพบำบัด) มหาวิทยาลัยมหิดล
วท.ม.(กายภาพบำบัด) มหาวิทยาลัยมหิดล
วท.บ.(กายภาพบำบัด) มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ
ปร.ด.(ประสาทวิทยาศาสตร์) มหาวิทยาลัยขอนแก่น
วท.บ.(กายภาพบำบัด) มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
วท.ม. (สรีรวิทยา) มหาวิทยาลัยมหิดล
วท.บ.(กายภาพบำบัด) มหาวิทยาลัยขอนแก่น
วท.ม. (กายภาพบำบัด) มหาวิทยาลัยขอนแก่น
วท.บ. (วิทยาศาสตร์การออกกำลังกายและการกีฬา) มหาวิทยาลัยบูรพา
วท.ม. (วิทยาศาสตร์การกีฬาและสุขภาพ) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
วท.บ.(กายภาพบำบัด) มหาวิทยาลัยมหิดล
วท.ม. (กายวิภาคศาสตร์) มหาวิทยาลัยมหิดล
วท.บ.(กายภาพบำบัด) มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
วท.ม. (กายภาพบำบัด) มหาวิทยาลัยมหิดล
อส.บ.(วิศวกรรมไฟฟ้า) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
วท.ม.(อุปกรณ์การแพทย์) มหาวิทยาลัยพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
วศ.บ. (วิศวกรรม-อุตสาหกรรม) มหาวิทยาลัย ขอนแก่น
วศ.ม. (วิศวกรรม ชีวการแพทย์) มหาวิทยาลัยมหิดล
วท.บ. (เทคนิคการแพทย์) มหาวิทยาลัยมหิดล
วท.ม. (อายุรศาสตร์เขตร้อน) มหาวิทยาลัยมหิดล
วท.บ. (ฟิสิกส์) มหาวิทยาลัยทักษิณ
วท.ม. (การสอนฟิสิกส์) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
Ph.D. (Science and Technology Education) มหาวิทยาลัยมหิดล
วท.บ. (ชีววิทยา) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
วท.ม. (ปรสิตวิทยาทางการแพทย์) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
วศ.บ.(วิศวกรรม เครื่องกล) มหาวิทยาลัยศิลปากร
วศ.ม.(การจัดการงานวิศวกรรม) มหาวิทยาลัยศิลปากร
วท.บ (ฟิสิกส์) (เกียรตินิยมอันดับ 2) มหาวิทยาลัยศิลปากร
วท.ม (ฟิสิกส์) มหาวิทยาลัยศิลปากร
ปร.ด. (ฟิสิกส์) มหาวิทยาลัยศิลปากร
วท.บ. (เทคโนโลยีอาหาร) มหาวิทยาลัยรามคำแหง
วท.ม. (วิทยาศาสตร์การอาหาร) สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
วท.บ. (ชีวเคมี) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
วท.ม. (ชีวเคมี) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
กศ.บ. (วิทยาศาสตร์เคมี) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
วท.ม. (ชีวเคมี) มหาวิทยาลัย ขอนแก่น
ศษ.บ. ( สาขาเคมี) มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์
ศศ.ม.(ศึกษาศาสตร์-การสอน) มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์
พทป.บ.(แพทย์แผนไทยประยุกต์) มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง
วท.ม. (กายวิภาคศาสตร์) มหาวิทยาลัยมหิดล
วท.บ. (วิทยาศาสตร์การแพทย์) มหาวิทยาลัยนเรศวร
วท.ม. (กายวิภาคศาสตร์) มหาวิทยาลัยมหิดล
ศศ.บ. (การสื่อสารมวลชนทางการกีฬา) มหาวิทยาลัยบูรพา
วท.ม. (วิทยาศาสตร์การกีฬาและสุขภาพ) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
กภ.บ. (กายภาพ บำบัด) มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง
วท.ม. (กายวิภาคศาสตร์) มหาวิทยาลัย มหิดล