College of Nursing มหาวิทยาลัยคริสเตียน
อาทิ รายวิชาภาษาอังกฤษเสริมพื้นฐาน รายวิชาการเขียนบทความทางวิชาการ รายวิชาเทคโนโลยีดิจิทัลขั้นต้น หรือรายวิชาอื่นๆ เพิ่มเติมตามที่คณะกรรมการบริหารหลักสูตรกำหนด
Master’s degrees
Doctoral degrees
ชื่อ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ศศิธร รุจนเวช
วุฒิการศึกษา
ความเชี่ยวชาญ
ผลงานวิชาการที่เผยแพร่
รางวัลที่ได้รับ
ชื่อ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ทิพา ต่อสกุลแก้ว
วุฒิการศึกษา
ความเชี่ยวชาญ
ผลงานวิชาการที่เผยแพร่
ชื่อ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ พันเอกหญิง ดร.นงพิมล นิมิตรอานันท์
วุฒิการศึกษา
ความเชี่ยวชาญ
ผลงานวิชาการที่เผยแพร่
ปีการศึกษา 2561
1) นงพิมล นิมิตรอานันท์ ศศิธร รุจนเวช และ จุฑารัตน์ ผู้พิทักษ์กุล. (2562). รูปแบบการสื่อสารความเสี่ยงทางสุขภาพโรคหลอดเลือดสมองตามมิติวัฒนธรรมของกลุ่มชาติพันธุ์ไทยทรงดำ: กรณีศึกษาชุมชนสะแกราย จังหวัดนครปฐม. วารสารคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา, 27(2) (เมษายน–มิถุนายน),80-92.
2) อุษา ตันทพงษ์ นงพิมล นิมิตรอานันท์ และ ศศิธร รุจนเวช. (2562). ปัจจัยคัดสรรที่มีผลต่อพฤติกรรมการป้องกันโรคข้อเข่าเสื่อมชนิดปฐมภูมิของครูในจังหวัดนครปฐม. วารสารพยาบาลทหารบก, 20(2) (พฤษภาคม-สิงหาคม),316-326.
วิทยานิพนธ์
3) ภาวินี กุลษรเวทย์ สุธีรา ฮุ่นตระกูล และ นงพิมล นิมิตรอานันท์. (2561). ผลของโปรแกรมการเสริมพลังในการป้องกันโรคข้อเข่าเสื่อมชนิดปฐมภูมิในอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านที่มีภาวะเสี่ยงโรคข้อเข่าเสื่อมที่ชุมชนแห่งหนึ่งในจังหวัดเพชรบุรี. วารสารแพทย์นาวี,45(3),578-598.[TCIกลุ่ม 1]
4) ดุจนฤภา ภาคปิยวัชร์ สุธีรา ฮุ่นตระกูล และ นงพิมล นิมิตรอานันท์. (2561). ผลของโปรแกรมการจัดการตนเองด้านการใช้ยาอย่างเคร่งครัดในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมไม่ได้ที่คลินิกเอกชนแห่งหนึ่งในจังหวัดปทุมธานี. วารสารแพทย์นาวี, 45(2), 377-398. [TCI กลุ่ม 1]
5) สุพัตรา เชาว์ไวย นงพิมล นิมิตรอานันท์ และ ศศิธร รุจนเวช. (2562). ผลของโปรแกรมการสร้างเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพในผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 รายใหม่ในชุมชน. วารสารโรงพยาบาลชลบุรี, 44(1), 25-34. [TCI กลุ่ม 1]
6) วิราพร สืบสุนทร นงพิมล นิมิตรอานันท์ และ ศศิธร รุจนเวช. (2562). ผลของโปรแกรมการส่งเสริมสมรรถนะของตนต่อพฤติกรรมการป้องกันการหกล้ม และสมรรถนะทางกายของผู้สูงอายุในชุมชน. วารสารโรงพยาบาลชลบุรี, 44(2), 119-129. [TCI กลุ่ม 1]
ปีการศึกษา 2562
7) นงพิมล นิมิตรอานันท์ วิชุดา กลิ่นหอม และ ฐิติมา หมอทรัพย์. (2563). การเสริมพลังชุมชน: มโนทัศน์และการประยุกต์ในการปฏิบัติการพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชน. วารสารการพยาบาลและสุขภาพ,14(1), (มกราคม-เมษายน) 13–23.
8)นงพิมล นิมิตรอานันท์ วิชุดา กลิ่นหอม เจือจันทร์ วัฒกีเจริญ และ ชลทิพย์ ทิพย์แก้ว. (2563). การพัฒนารูปแบบการป้องกันการหกล้มของผู้สูงอายุแบบมีส่วนร่วมของชุมชน. วารสารพยาบาลทหารบก, 21(2) พฤษภาคม-สิงหาคม,389-399.
วิทยานิพนธ์
9) กัญญาภัทธ ปราบริปู, ศศิธร รุจนเวช และ นงพิมล นิมิตรอานันท์. (2563). ผลของโปรแกรมการจัดการอาการต่อความรุนแรงของโรคและพฤติกรรมการดูแลตนเองของผู้สูงอายุกลุ่มเสี่ยงโรคข้อเข้าเสื่อมชนิดปฐมภูมิ. วารสารการพยาบาลและสุขภาพ. 14(1), 1-13, (มกราคม–เมษายน 2563). (TCI 2)
ปีการศึกษา 2563
10) นงพิมล นิมิตรอานันท์ สุพัตรา เชาว์ไวย และ วิราพร สืบสุนทร. (2563). การออกกำลังกายแบบก้าวตามตารางเพื่อป้องกันการหกล้มของผู้สูงอายุในชุมชน: การวิเคราะห์วรรณกรรม. วารสารแพทย์นาวี, 48(1),23-36. มกราคม-เมษายน. [TCI กลุ่ม 1]
รางวัลที่ได้รับ
ชื่อ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ศากุล ช่างไม้
วุฒิการศึกษา
ผลงานวิชาการที่เผยแพร่
อาจารย์ พันตำรวจเอกหญิง ดร.กิตติยา ชัชวาลชาญชนกิจ
วุฒิการศึกษา
1. ปร.ด.(การจัดการ) มหาวิทยาลัยสยาม
2. บธ.ม.(การจัดการ) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
3. พย.บ. วิทยาลัยพยาบาลตำรวจ
อาจารย์ สุพาพร ศิริผึ้ง
วุฒิการศึกษา
1. บธ.ม. (การจัดการทั่วไป) มหาวิทยาลัยรามคำแหง
2. บริหารธุรกิจบัณฑิต (อุตสาหกรรมการบริการ)มหาวิทยาลัยรามคำแหง
อาจารย์ เสาวลักษณ์ นัทธีศรี
วุฒิการศึกษา
1. กจ.ม. (การบริหารรัฐกิจ) มหาวิทยาลัยคริสเตียน
2. ศศ.บ. (การพัฒนาชุมชน) มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
วท.บ.(กายภาพบำบัด) มหาวิทยาลัยมหิดล
วท.ม.(กายภาพบำบัด) มหาวิทยาลัยมหิดล
วท.บ.(กายภาพบำบัด) มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ
ปร.ด.(ประสาทวิทยาศาสตร์) มหาวิทยาลัยขอนแก่น
วท.บ.(กายภาพบำบัด) มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
วท.ม. (สรีรวิทยา) มหาวิทยาลัยมหิดล
วุฒิการศึกษาสูงสุด : วท.ด. (โภชนศาสตร์) มหาวิทยาลัยมหิดล
Telephone : 034-388-555 ต่อ 1408
Email : patcharaporna@christian.ac.th
วุฒิการศึกษา
1. วท.ด. (โภชนศาสตร์) มหาวิทยาลัยมหิดล
2. วท.ม. (โภชนศาสตร์) มหาวิทยาลัยมหิดล
3. วท.บ. (พยาบาลและผดุงครรภ์) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ความเชี่ยวชาญ
1. การพยาบาลกุมารเวชศาสตร์
2. การบริหารทางการพยาบาล
3. การพยาบาลพื้นฐาน
4. โภชนศาสตร์และการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการกิน
5. การสร้างเสริมสุขภาพ
ผลงานวิชาการที่เผยแพร่ในรอบ 5 ปีย้อนหลัง
Srimantayamas, V., Fongkaew, W., Suksatit, B., Aree, P., & Kosachunhanun, N. (2020). Health Behaviors and Health-Related Quality of Life among Buddhist Monks with Metabolic Syndrome. Pacific Rim International Journal of Nursing Research, 24(2), 159-171.
ชุติกาญจน์ บูชากุล, เพชรน้อย สิงห์ช่างชัย, และพัชราภรณ์ อารีย์. (2563). ภาวะผู้นำ และความยึดมั่นผูกพันในงานของพยาบาลวิชาชีพ: การทบทวนอย่างเป็นระบบ. วารสารพยาบาลทหารบก, 21(2), 453-463.
มาลินี ป้ันดี, เพชรน้อย สิงห์ช่างชัย, และพัชราภรณ์ อารีย์. (2563). ปัจจัยที่มีอิทธิพลของความจงรักภักดีของผู้รับบริการจากการพยาบาลในหอผู้ป่ วยใน ในโรงพยาบาลเอกชนในเขตภาคกลาง.วารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก, 31(1), 94-107.
นภาพร สายชู, พัชราภรณ์ อารีย์, เนตรชนก ศรีทุมมา, และเพชรน้อย สิงห์ช่างชัย (2563). การวิเคราะห์เส้นทางของพฤติกรรมผู้นำการเปลี่ยนแปลงของหัวหน้าพยาบาล, สภาพภูมิอากาศของทีมสำหรับนวัตกรรม, พฤติกรรมการวางแนวตลาดและนวัตกรรมการบริการของหน่วยพยาบาลในโรงพยาบาลเอกชน, ประเทศไทย. Thai Journal of Public Health, 50(3), 378-390.
Saichu, N., Aree, P., Sritoomma, N. (2019). Development of Indicators of the TransformationalLeadership Behavior of Head Nurses in Private Hospitals in Thailand. Journal of Public Health andDevelopment, 17(3), 23-37.
Aree, P., Jomgeow, T., Thongbunjob, K., & Tachaudomdach, C. (2019). Serum lipid, homocysteine, and platelet derived growth factor in patients with hypertension. Journal of Health Research, 33(4), 293-300.
สุทธิชารัตน์ จันติยะ, เพชรน้อย สิงห์ช่างชัย, และพัชราภรณ์ อารีย์ (2562). ภาวะผู้น าด้านความปลอดภัยและการปฏิบัติงานด้านความปลอดภัยในองค์กรสุขภาพ: การทบทวนวรรณกรรมอย่างเป็นระบบ. วารสารวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนีอุตรดิตถ์, 11(2),1-14.
อรอนงค์ ธาราไพศาลสุข, สมพันธ์ หิญชีระนันทน์, และพัชราภรณ์ อารีย์. (2562). ผลของการนิเทศตามโมเดลการโค้ชแบบโกรว์ของผู้บริหารทางการพยาบาลระดับต้นที่โรงพยาบาลเอกชน. วารสารวิจัยและพัฒนาระบบสุขภาพ, 12(3).
มาลินี ป้ันดี, เพชรน้อย สิงห์ช่างชัย, และพัชราภรณ์ อารีย์. (2562). คุณภาพการบริการกับความจงรักภักดีของผู้ใช้บริการ: การทบทวนอย่างเป็นระบบ. วารสารกองการพยาบาล, 46(2), 169-188.
พัชราภรณ์ อารีย์, วีระพร ศุทธากรณ์, อะเคื้อ อุณหเลขกะ, และพิมพาภรณ์ กลั่นกลิ่น. (2562). ผลของการเตรียมพร้อมเกี่ยวกับการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อจากสัตว์สู่คนต่อความรู้และการปฏิบัติของอาสาสมัครสาธารณสุขประจ าหมู่บ้าน. วารสารมหาวิทยาลัยคริสเตียน, 25(3), 36-49.
อุมาพร ปุญญโสพรรณ, พัชราภรณ์ อารีย์, วิจิตร ศรีสุพรรณ, และสถิตย์ วงศ์สุรประกติ. (2562).การรับรู้ประโยชน์ และอุปสรรค การรับรู้สมรรถนะแห่งตน การสนับสนุนทางสังคม และพฤติกรรมการกินเพื่อให้ได้คุณค่าทางโภชนาการและปลอดภัยของสตรีที่ อาศัยอยู่ในเมืองและนอกเมือง.วารสารมหาวิทยาลัยคริสเตียน, 25(1), 1-18.
ณัฐนรี อนุกูลวรรธกะ, พัชราภรณ์ อารีย์, และ สุธิศา ล่ามช้าง. (2561). ปัจจัยท านายการปฏิบัติป้องกันอาการชักในเด็กของผู้ดูแล. พยาบาลสาร, 44(4), 1-12.
ปิยะภร ไพรสนธิ์, พรทิพย์ สารีโส, พัชราภรณ์ อารีย์, วราภรณ์ เสถียรนพเก้า, อุไรวรรณ ชัยมินทร์,และปิยะนุช พูลวิวัฒน์. (2561 ). ภาวะโลหิตจางในผู้สูงอายุภาคเหนือตอนบนของประเทศไทย.วารสารสภาการพยาบาล, 32 (1 ), 133-145.
สุกัญญา ชัยขวัญ, สมพันธ์ หิญชีระนันทน์, และพัชราภรณ์ อารีย์. (2563). ผลของการนิเทศตามโมเดลการโค้ชแบบเคลียร์ของผู้บริหารทางการพยาบาลระดับต้นที่โรงพยาบาลระดับทุติยภูมิ.วารสารครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎมหาสารคาม, 17(2).
Aree, P., Jomgeow, T., Thongbunjob, K., & Tachaudomdach, C. (2019). Serum lipid, homocysteine, and platelet derived growth factor in patients with hypertension.Journal of Health Research, 33(4), 293-300.
พัชราภรณ์ อารีย์, สุภาพร เชยชิด, บุษบา หีบเงิน, และพรศิริ ศรมยุรา. (2562). ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมการดูแลเด็กป่วยโรคปอดอักเสบของผู้ดูแลในโรงพยาบาลเขต 5 กระทรวงสาธารณสุข.วารสารการพยาบาลและสุขภาพ, 13(4), 1-13.
พัชราภรณ์ อารีย์, วีระพร ศุทธากรณ์, อะเคื้อ อุณหเลขกะ, และพิมพาภรณ์ กลั่นกลิ่น. (2562). ผลของการเตรียมพร้อมเกี่ยวกับการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อจากสัตว์สู่คนต่อความรู้และการปฏิบัติของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน. วารสารมหาวิทยาลัยคริสเตียน, 25(3), 36-49.
พัชราภรณ์ อารีย์, วีระพร ศุทธากรณ์, และอะเคื้อ อุณหเลขกะ. (2562). การพัฒนาโปรแกรมการสื่อสารโดยมีชุมชนเป็นฐานสำหรับการป้องกันและควบคุมโรคติดต่ออจากสัตว์สู่คน.วารสารมหาวิทยาลัยคริสเตียน, 25(1), 19-31.
พัชราภรณ์ อารีย์. (2560). คอมพิวเตอร์ช่วยสอนกับการเรียนการสอนทางการพยาบาล.วารสารพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยคริสเตียน, 4(2), 112-119.
อุมาพร ปุญญโสพรรณ, พัชราภรณ์ อารีย์, วิจิตร ศรีสุพรรณ, และสถิตย์ วงศ์สุรประกติ. (2562). การรับรู้ประโยชน์ และอุปสรรค การรับรู้สมรรถนะแห่งตน การสนับสนุนทางสังคม และพฤติกรรมการกินเพื่อให้ได้คุณค่าทางโภชนาการและปลอดภัยของสตรีที่ อาศัยอยู่ในเมืองและนอกเมือง.วารสารมหาวิทยาลัยคริสเตียน, 25(1), 1-18.
ณัฏฐณิชา ศรีบุณยวัฒน, ศรีมนา นิยมค้า, จุฑารัตน์ มีสุขโข, พัชราภรณ์ อารีย์, ฐิติมา สุขเลิศตระกูล, และจันท์พิมพ์ สารากร. (2562). การพัฒนาสื่อการเรียนรู้แบบมีปฏิสัมพันธ์ผ่านเว็บด้านทักษะการพยาบาลกุมารเวชศาสตร์ สำหรับนักศึกษาพยาบาล. พยาบาลสาร, 46 (2), 199-209.
พัชรี วัฒนชัย, พัชราภรณ์ อารีย์, และสุธิศา ล่ามช้าง. (2559). ความรุนแรงของโรคหืด พฤติกรรมการจัดการของครอบครัวและการควบคุมอาการของโรคหืดในเด็กของผู้ดูแลในครอบครัว. พยาบาลสาร, 43(2), 1-12.
Vipada Srimantayamas, V., Fongkaew, W., Suksatit, B., Aree, P., & Kosachunhanun, N. (2020).Health behaviors and health-related quality of life among Buddhist monks withmetabolic syndrome. Pacific Rim International Journal of Nursing Research,24(2), 159-171.