คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยคริสเตียนสังกัดมูลนิธิแห่งสภาคริสตจักรในประเทศไทย เป็นองค์กรที่ไม่มุ่งแสวงกำไร มีเป้าประสงค์เพื่อแสดงความรัก ความเชื่อ และความศรัทธาในองค์พระผู้เป็นเจ้า ซี่งทรงสอนให้มนุษย์รักและบริการซี่งลันและลัน เพื่อสันติสุขของมวลมนุษย์ คณะพยาบาลศาสตร์ จึงยึดมั่นใน “รักและบริการ” ที่เป็นเลิศในการผลิตบัณฑิตที่มีคุณภาพและมาตรฐานสากล มีคุณธรรมและจริยธรรมตามหลักคำสอนของคริสต์ศาสนา
โดยเชื่อในการเรียนรู้อย่างมีเป้าหมาย (Purposeful Learning) ที่เน้นการใช้ความรู้สร้างนวัตกรรม การเรียนรู้อย่างสร้างสรรค์ (Generative Learning) ที่เน้นการใช้ ความคิดสร้างสรรค์ในการเรียนรู้สิ่งใหม่ๆ การเรียนรู้เพื่อส่วนรวม (Mindful Learning) ที่เน้นการปลูกจิต สาธารณะและมีความรับผิดชอบต่อสังคม และการเรียนรู้เพื่อการนำไปปฏิบัติ (Result-Based Learning) ด้วยคุณภาพและมาตรฐานสากล มีการผลิตผลงานวิชาการ มีการทำวิจัยเพื่อสร้างองค์ความรู้ใหม่ งานสร้างสรรค์และนวัตกรรม มีการให้บริการวิชาการแก่ชุมชนเป้าหมาย และสังคม รวมทั้งการมีส่วนร่วมใน การพีนฟู อนุรักษ์ สืบสาน
พัฒนาและเผยแพร่ศิลปะและวัฒนธรรม ด้วยการส่งเสริมและสร้างสรรค์ภูมิ ปัญญาท้องถิ่นให้เป็นรากฐานของการพัฒนาองค์ความรู้ด้าน ศิลปะและวัฒนธรรม รวมทั้งการพีนฟู อนุรักษ์ และพัฒนาการใช้ประโยชน์และการอยู่กับทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างเกื้อกูล เหมาะสม และ เป็นธรรม เพื่อให้เกิดความมั่นคงของฐานทรัพยากรธรรมชาติที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม บนพื้นฐานปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียงบรรษัทภิบาล และการเป็นคณะพยาบาลศาสตร์ที่ส่งเสริมสุขภาพ
1. จัดการศึกษาสาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ โดยยึดมั่นใน “รักและบริการ”ที่เป็นเลิศ มีวิธีการ เรียนรู้ทั้ง 4 แบบที่กำหนดไวิในปรัชญาของคณะฯ ด้วยคุณภาพและมาตรฐานสากล ในหลักสูตรระดับปริญญาตรี และระดับปริญญาโท บนพื้นฐานปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง บรรษัทกิบาล และการเป็นมหาวิทยาลัยส่งเสริมสุขภาพ
2. จัดการเรียนการสอนเพื่อผลิตบัณฑิตพยาบาลให้มีสมรรถนะทางวิชาการ มีสมรรถนะทาง วิชาชีพ มีทักษะการเรียนรู้ด้วยตนเองตลอดชีวิต มีทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 บนพื้นฐานของความรู้ ความคิดสร้างสรรค์และภูมิปิญญาไทย มีสมรรถนะการประกอบอาชีพอิสระ/การประกอบการอิสระ มีสมรรถนะ การใช้เทคโนโลยีดิจิทัลอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล และมีสมรรถนะการบริหารจัดการด้วยบรรษัทกิบาล
3. ผลิตบัณฑิตพยาบาลทุกหลักสูตรให้มีทักษะการสื่อสารภาษาไทยและภาษาอังกฤษอย่างมีประสิทธิผล
4. ผลิตบัณฑิตพยาบาลให้มีคุณธรรมและจริยธรรมตามหลักคำสอนของศรีสตศาสนา มีความ รับผิดขอบ มีวินัย มีจิตอาสา มีสุฃภาวะแบบองค์รวมทั้งด้านร่างกาย จิตใจ สังคม วัฒนธรรม และจิตวิญญาณ ดำรงชีวิตด้วยความพอเพียง เทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์ เป็นพลเมืองดีในระบอบประชาธิปไตย เพื่อให้มี ศักยภาพในการมีส่วนร่วมพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมอย่างยั่งยืน รวมทั้งเสริมสร้างขีดความสามารถของประเทศให้ สามารถแข่งขันได้ในประซาคมโลก
5. เป็นแหล่งศึกษาวิจัยอย่างสร้างสรรค์เพื่อสร้างนวัตกรรมทางการพยาบาลด้วยการแลกเปลี่ยน เรียนรู้ มีการสร้าง เผยแพร่ และรับรองคุณภาพของผลงานวิจัย งานสร้างสรรค์ นวัตกรรม และผลงานทางวิชาการ รวมทั้งมีการนำผลงานวิจัย งานสร้างสรรค์ นวัตกรรม และผลงานทางวิชาการไปใช้ให้เกิดประโยชน์แก่วิชาชีพชุมชน และสังคม
6. เป็นแหล่งให้บริการวิชาการแก่ชุมชนเป้าหมายและสังคม ที่บูรณาการกับการจัดการเรียนการ สอน และหรือการทำวิจัย และหรือการพัฒนานักศึกษาและศิษย์เก่า อันจะก่อให้เกิดการพัฒนาอย่างยั่งยืนใน วิชาชีพ หน่วยงาน ชุมชนเป้าหมาย และสังคม
7. เรียนรู้ร่วมกับชุมชนโดยรอบมหาวิทยาลัยครีสเตียน เพื่อฟื้นฟูอนุรักษ์ สืบสาน พัฒนาและ เผยแพร่ศิลปะและวัฒนธรรม ด้วยการส่งเสริมและสร้างสรรค์ ภูมิปัญญาห้องถิ่นให้เป็นรากฐานของการพัฒนาองค์ ความรู้ด้านศิลปะและวัฒนธรรม โดยคำนึงถึงการเสือกใช้ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างเกื้อกูล เหมาะสม และเป็นธรรม มีส่วนร่วมในการแก้ไขปีญหาสุขภาพจากการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติใน ชุมชน เพื่อการธำรงสุขภาพของประซาซน
วท.บ. (ฟิสิกส์) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
วศ.ม. (วิศวกรรมไฟฟ้าและสารสนเทศ) (หลักสูตรนานาชาติ) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
ปร.ด. (วิศวกรรม ไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์) (หลักสูตรนานาชาติ) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
ชื่อ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ศศิธร รุจนเวช
วุฒิการศึกษา
ความเชี่ยวชาญ
ผลงานวิชาการที่เผยแพร่
รางวัลที่ได้รับ
ชื่อ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ทิพา ต่อสกุลแก้ว
วุฒิการศึกษา
ความเชี่ยวชาญ
ผลงานวิชาการที่เผยแพร่
ชื่อ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ศากุล ช่างไม้
วุฒิการศึกษา
ผลงานวิชาการที่เผยแพร่
ชื่อ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ พันเอกหญิง ดร.นงพิมล นิมิตรอานันท์
วุฒิการศึกษา
ความเชี่ยวชาญ
ผลงานวิชาการที่เผยแพร่
ปีการศึกษา 2561
1) นงพิมล นิมิตรอานันท์ ศศิธร รุจนเวช และ จุฑารัตน์ ผู้พิทักษ์กุล. (2562). รูปแบบการสื่อสารความเสี่ยงทางสุขภาพโรคหลอดเลือดสมองตามมิติวัฒนธรรมของกลุ่มชาติพันธุ์ไทยทรงดำ: กรณีศึกษาชุมชนสะแกราย จังหวัดนครปฐม. วารสารคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา, 27(2) (เมษายน–มิถุนายน),80-92.
2) อุษา ตันทพงษ์ นงพิมล นิมิตรอานันท์ และ ศศิธร รุจนเวช. (2562). ปัจจัยคัดสรรที่มีผลต่อพฤติกรรมการป้องกันโรคข้อเข่าเสื่อมชนิดปฐมภูมิของครูในจังหวัดนครปฐม. วารสารพยาบาลทหารบก, 20(2) (พฤษภาคม-สิงหาคม),316-326.
วิทยานิพนธ์
3) ภาวินี กุลษรเวทย์ สุธีรา ฮุ่นตระกูล และ นงพิมล นิมิตรอานันท์. (2561). ผลของโปรแกรมการเสริมพลังในการป้องกันโรคข้อเข่าเสื่อมชนิดปฐมภูมิในอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านที่มีภาวะเสี่ยงโรคข้อเข่าเสื่อมที่ชุมชนแห่งหนึ่งในจังหวัดเพชรบุรี. วารสารแพทย์นาวี,45(3),578-598.[TCIกลุ่ม 1]
4) ดุจนฤภา ภาคปิยวัชร์ สุธีรา ฮุ่นตระกูล และ นงพิมล นิมิตรอานันท์. (2561). ผลของโปรแกรมการจัดการตนเองด้านการใช้ยาอย่างเคร่งครัดในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมไม่ได้ที่คลินิกเอกชนแห่งหนึ่งในจังหวัดปทุมธานี. วารสารแพทย์นาวี, 45(2), 377-398. [TCI กลุ่ม 1]
5) สุพัตรา เชาว์ไวย นงพิมล นิมิตรอานันท์ และ ศศิธร รุจนเวช. (2562). ผลของโปรแกรมการสร้างเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพในผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 รายใหม่ในชุมชน. วารสารโรงพยาบาลชลบุรี, 44(1), 25-34. [TCI กลุ่ม 1]
6) วิราพร สืบสุนทร นงพิมล นิมิตรอานันท์ และ ศศิธร รุจนเวช. (2562). ผลของโปรแกรมการส่งเสริมสมรรถนะของตนต่อพฤติกรรมการป้องกันการหกล้ม และสมรรถนะทางกายของผู้สูงอายุในชุมชน. วารสารโรงพยาบาลชลบุรี, 44(2), 119-129. [TCI กลุ่ม 1]
ปีการศึกษา 2562
7) นงพิมล นิมิตรอานันท์ วิชุดา กลิ่นหอม และ ฐิติมา หมอทรัพย์. (2563). การเสริมพลังชุมชน: มโนทัศน์และการประยุกต์ในการปฏิบัติการพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชน. วารสารการพยาบาลและสุขภาพ,14(1), (มกราคม-เมษายน) 13–23.
8)นงพิมล นิมิตรอานันท์ วิชุดา กลิ่นหอม เจือจันทร์ วัฒกีเจริญ และ ชลทิพย์ ทิพย์แก้ว. (2563). การพัฒนารูปแบบการป้องกันการหกล้มของผู้สูงอายุแบบมีส่วนร่วมของชุมชน. วารสารพยาบาลทหารบก, 21(2) พฤษภาคม-สิงหาคม,389-399.
วิทยานิพนธ์
9) กัญญาภัทธ ปราบริปู, ศศิธร รุจนเวช และ นงพิมล นิมิตรอานันท์. (2563). ผลของโปรแกรมการจัดการอาการต่อความรุนแรงของโรคและพฤติกรรมการดูแลตนเองของผู้สูงอายุกลุ่มเสี่ยงโรคข้อเข้าเสื่อมชนิดปฐมภูมิ. วารสารการพยาบาลและสุขภาพ. 14(1), 1-13, (มกราคม–เมษายน 2563). (TCI 2)
ปีการศึกษา 2563
10) นงพิมล นิมิตรอานันท์ สุพัตรา เชาว์ไวย และ วิราพร สืบสุนทร. (2563). การออกกำลังกายแบบก้าวตามตารางเพื่อป้องกันการหกล้มของผู้สูงอายุในชุมชน: การวิเคราะห์วรรณกรรม. วารสารแพทย์นาวี, 48(1),23-36. มกราคม-เมษายน. [TCI กลุ่ม 1]
รางวัลที่ได้รับ
อาจารย์ รุ่งแก้ว พุ่มโพธิ์
วุฒิการศึกษา
1. M.B.A. (Doubled Majors in International Business and Operations and Supply Chain Management), University of Wisconsin – Whitewater, USA
2. ศศ.บ. (ภาษาและวัฒนธรรมเพื่อการสื่อสารและการพัฒนา) สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย มหาวิทยาลัยมหิดล
3. บธ.บ. (การจัดการธุรกิจระหว่างประเทศ) มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ
อาจารย์ พันตำรวจเอกหญิง ดร.กิตติยา ชัชวาลชาญชนกิจ
วุฒิการศึกษา
1. ปร.ด.(การจัดการ) มหาวิทยาลัยสยาม
2. บธ.ม.(การจัดการ) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
3. พย.บ. วิทยาลัยพยาบาลตำรวจ
อาจารย์ สุพาพร ศิริผึ้ง
วุฒิการศึกษา
1. บธ.ม. (การจัดการทั่วไป) มหาวิทยาลัยรามคำแหง
2. บริหารธุรกิจบัณฑิต (อุตสาหกรรมการบริการ)มหาวิทยาลัยรามคำแหง
อาจารย์ เสาวลักษณ์ นัทธีศรี
วุฒิการศึกษา
1. กจ.ม. (การบริหารรัฐกิจ) มหาวิทยาลัยคริสเตียน
2. ศศ.บ. (การพัฒนาชุมชน) มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
อาจารย์ ดร.ธฤษณุวัชร ไชยโคตร
วท.บ.(กายภาพบำบัด) มหาวิทยาลัยมหิดล
วท.ม.(เวชศาสตร์การกีฬา) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Ph.D(Sport and Exercise Medicine) University of Essex, UK
วท.บ.(กายภาพบำบัด) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
วท.ม.(กายวิภาคศาสตร์) มหาวิทยาลัยมหิดล
ปร.ด.(สรีรวิทยาการแพทย์) มหาวิทยาลัยมหิดล
วท.บ.(กายภาพบำบัด) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
วท.ม. (สุขภาพจิต) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
วท.บ.(กายภาพบำบัด) มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ
วท.ม. (วิศวกรรมทางการแพทย์) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
วท.บ.(กายภาพบำบัด) มหาวิทยาลัยขอนแก่น
วท.ม. (กายภาพบำบัด) มหาวิทยาลัยขอนแก่น
วท.บ.(กายภาพบำบัด) มหาวิทยาลัยมหิดล
วท.ม.(กายภาพบำบัด) มหาวิทยาลัยมหิดล
วท.บ.(กายภาพบำบัด) มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ
ปร.ด.(ประสาทวิทยาศาสตร์) มหาวิทยาลัยขอนแก่น
วท.บ.(กายภาพบำบัด) มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
วท.ม. (สรีรวิทยา) มหาวิทยาลัยมหิดล
วท.บ.(กายภาพบำบัด) มหาวิทยาลัยขอนแก่น
วท.ม. (กายภาพบำบัด) มหาวิทยาลัยขอนแก่น
วท.บ. (วิทยาศาสตร์การออกกำลังกายและการกีฬา) มหาวิทยาลัยบูรพา
วท.ม. (วิทยาศาสตร์การกีฬาและสุขภาพ) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
วท.บ.(กายภาพบำบัด) มหาวิทยาลัยมหิดล
วท.ม. (กายวิภาคศาสตร์) มหาวิทยาลัยมหิดล
วท.บ.(กายภาพบำบัด) มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
วท.ม. (กายภาพบำบัด) มหาวิทยาลัยมหิดล
อส.บ.(วิศวกรรมไฟฟ้า) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
วท.ม.(อุปกรณ์การแพทย์) มหาวิทยาลัยพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
วศ.บ. (วิศวกรรม-อุตสาหกรรม) มหาวิทยาลัย ขอนแก่น
วศ.ม. (วิศวกรรม ชีวการแพทย์) มหาวิทยาลัยมหิดล
วท.บ. (เทคนิคการแพทย์) มหาวิทยาลัยมหิดล
วท.ม. (อายุรศาสตร์เขตร้อน) มหาวิทยาลัยมหิดล
วท.บ. (ฟิสิกส์) มหาวิทยาลัยทักษิณ
วท.ม. (การสอนฟิสิกส์) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
Ph.D. (Science and Technology Education) มหาวิทยาลัยมหิดล
วท.บ. (ชีววิทยา) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
วท.ม. (ปรสิตวิทยาทางการแพทย์) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
วศ.บ.(วิศวกรรม เครื่องกล) มหาวิทยาลัยศิลปากร
วศ.ม.(การจัดการงานวิศวกรรม) มหาวิทยาลัยศิลปากร
วท.บ (ฟิสิกส์) (เกียรตินิยมอันดับ 2) มหาวิทยาลัยศิลปากร
วท.ม (ฟิสิกส์) มหาวิทยาลัยศิลปากร
ปร.ด. (ฟิสิกส์) มหาวิทยาลัยศิลปากร
วท.บ. (เทคโนโลยีอาหาร) มหาวิทยาลัยรามคำแหง
วท.ม. (วิทยาศาสตร์การอาหาร) สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
วท.บ. (ชีวเคมี) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
วท.ม. (ชีวเคมี) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
กศ.บ. (วิทยาศาสตร์เคมี) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
วท.ม. (ชีวเคมี) มหาวิทยาลัย ขอนแก่น
ศษ.บ. ( สาขาเคมี) มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์
ศศ.ม.(ศึกษาศาสตร์-การสอน) มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์
พทป.บ.(แพทย์แผนไทยประยุกต์) มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง
วท.ม. (กายวิภาคศาสตร์) มหาวิทยาลัยมหิดล
วท.บ. (วิทยาศาสตร์การแพทย์) มหาวิทยาลัยนเรศวร
วท.ม. (กายวิภาคศาสตร์) มหาวิทยาลัยมหิดล
ศศ.บ. (การสื่อสารมวลชนทางการกีฬา) มหาวิทยาลัยบูรพา
วท.ม. (วิทยาศาสตร์การกีฬาและสุขภาพ) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
กภ.บ. (กายภาพ บำบัด) มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง
วท.ม. (กายวิภาคศาสตร์) มหาวิทยาลัย มหิดล